Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ความแก่ชราเกิดที่ส่วนไหน? และเราจะยื้อได้หรือไม่?   

รายงานการศึกษาชิ้นใหม่ซึ่งเผยแพร่เมื่อวันจันทร์ที่ 13 มกราคม ในวารสาร Nature Medicine โดยนักวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ที่มุ่งศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับกระบวนการชราภาพของมนุษย์ในระดับโมเลกุล พยายามหาคำตอบว่า ทำไมคนเราแต่ละคนจึงมีกระบวนการแก่ชราเร็วช้าไม่เท่ากัน? รวมทั้งยังตั้งเป้าไว้ด้วยว่า วันหนึ่งเราจะสามารถเข้าแทรกแซงหรือสร้างผลต่อกระบวนการที่ว่านี้ได้ โดยอาศัยตัวยาหรือการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิตที่เหมาะสม นักวิจัยได้ติดตามศึกษากลุ่มตัวอย่างอายุ 34 ถึง 68 ปีจำนวน 43 คนเป็นเวลาสองปี โดยเก็บตัวอย่างเลือดและอุจจาระเพื่อศึกษาสารเคมีที่ช่วยบ่งชี้ หรือ biomarkers ของร่างกาย แพทย์ทราบมานานแล้วว่าเมื่อคนเราแก่ตัวลงนั้น ระดับของสารบ่งชี้บางอย่างจะเปลี่ยนไป เช่น มีโคเลสเตอรอลสูงขึ้น การทำงานของจุลชีวะบางอย่างในระบบลำไส้เพิ่มขึ้น รวมทั้งมีไขมันและโปรตีนต่าง ๆ มากขึ้นด้วย และจากการศึกษานี้นักวิจัยชี้ว่า คนเรามีลักษณะหรือรูปแบบของความแก่ที่แสดงออกหรือสะท้อนให้เห็นได้อย่างน้อยสี่ด้าน หรือสี่ช่องทาง ซึ่งไม่ได้จำกัดเฉพาะแค่หน้าตาหรือผิวพรรณที่เหี่ยวย่นเท่านั้น หน้าต่างที่ช่วยสะท้อนกระบวนการชราภาพดังกล่าว ได้แก่ กระบวนการย่อยอาหารและเผาผลาญพลังงาน ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย การทำงานของตับ การทำงานของไต ตัวอย่างเช่น ผู้ที่มีกระบวนการเผาผลาญของร่างกายเสื่อมถอยก็มีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน คนที่มีจุดอ่อนในระบบภูมิคุ้มกันก็จะติดเชื้อหรือป่วยเป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย ส่วนผู้ที่มีความอ่อนแอของตับและไตก็จะมีปัญหาเกี่ยวกับโรคเหล่านี้ ส่งผลให้สุขภาพร่างกายถูกบั่นทอนและนำไปสู่การถดถอยของสภาพสังขารโดยรวม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ทีมนักวิจัยอธิบายว่าคนเราแต่ละคนจะไม่ได้ถูกจำกัดว่าจะต้องมีช่องทางหรือกระบวนการของความชราภาพเพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น เพราะบางคนอาจจะมีเส้นทางของความเสื่อมถอยของสังขารมากกว่าหนึ่งได้ แต่ทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดก็บอกว่า ถ้าเราทราบและเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบความเสื่อมถอยของเราว่าเกิดขึ้นและแสดงออกผ่านทางช่องใด เรื่องนี้ก็อาจเป็นประโยชน์และจะเป็นโอกาสให้เราสามารถพยายามเข้าไปควบคุมจัดการ ปรับเปลี่ยน หรือพยายามชะลอกระบวนการชราภาพที่ว่านี้ได้ นักวิทยาศาสตร์หวังว่าข้อมูลและความรู้ที่จะได้จากการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลไกของความแก่ชราและสาเหตุที่มานี้ จะช่วยให้สามารถออกแบบกระบวนการเพื่อชะลอความแก่ที่เหมาะสมสำหรับแต่ละบุคคลได้ในที่สุด Voice of America 16.01.20

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร