Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อีเวนต์ขยะเป็นศูนย์! ที่งานบอลจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ คนจัดงานแจงขยะทุกชิ้นมีทางไปต่อ ไม่กระทบสิ่งแวดล้อม  

หลังจบงานอีเวนต์ใดก็ตาม สิ่งตามมาด้วยเสมอ คือ “ขยะ” ของผู้คนร่วมงานที่มีทั้งในถังขยะและอาจจะล้นออกมาอยู่นอกถัง หรือตกอยู่เกลื่อนบริเวณพื้นที่จัดงาน ขยะถูกปล่อยให้เป็นหน้าที่ของผู้จัดและหน่วยงานรักษาความสะอาดมารับช่วงต่อ ซึ่งแต่ละงานคงไม่มีใครรู้หรอกว่า กองขยะสารพัดประเภทในงานอีเวนต์เหล่านั้นจะไปตกค้างอยู่ที่ไหนบ้าง “แต่จะไม่เกิดขึ้นที่งานฟุตบอลประเพณีจุฬาลงกรณ์-ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 74 ณ สนามศุภชลาศัย ในวันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์นี้” เพราะคนจัดงานยืนยันถึงกระบวนการจัดการขยะแต่ละประเภทมีเส้นทางไปต่ออย่างชัดเจน จึงแทบไม่เหลือขยะตกค้างมาก่อมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม “ขยะ” ในงานฟุตบอลประเพณีครั้งที่ 74 จะมีตั้งแต่ เศษอาหาร ภาชนะ บรรจุภัณฑ์ ขยะจากขบวนพาเหรด หรือบนแสตนด์ ขยะพวกนี้จะได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม และเราจะทำให้ขยะเหล่านี้กลับมาสร้างประโยชน์สูงสุดในแต่ละวงจร .”เศษอาหาร” ของกินเหลือเททิ้งแล้วจะไปไหน หลังจากถูก “แยก” เรียบร้อยแล้ว จะถูกนำไปใช้ประโยชน์ต่อ โดยฝ่ายกายภาพ จุฬาฯ จะส่งต่อให้เกษตรกรเพื่อเข้าสู่กระบวนการหมัก ทำปุ๋ย ปลูกต้นไม้ และทำเป็นอาหารสัตว์ต่อไป แต่สิ่งที่ควรเป็นสำหรับทุกคน คือไม่ทิ้งสิ่งของที่ไม่สามารถเป็นอาหารได้ เช่น ไม้เสียบ ถาดใบตอง และกล่องชานอ้อย ลงไปรวมกับเศษอาหารในขณะที่แยก “แก้วไบโอ” (Bio-Compostable) วัสดุอีกหนึ่งชิ้นที่เป็นกิมมิกภายในงาน ซึ่งจริงๆ ได้ถูกนำมาใช้แทนบรรจุภัณฑ์ในมหาวิทยาลัยแล้ว เป็นแก้วที่ผลิตจากเส้นใยพืชระยะสั้น (อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง) มีลักษณะพิเศษคือ ย่อยสลายได้ภายใน 4-6 เดือน (ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม) โดยไม่มีสารเคมีตกค้าง แก้ว Bio-Compostable ที่ถูก “แยก” จากงานนี้ จะถูกนำไปใช้เป็นกระถางเพาะชำแทนการใช้ถุงเพาะชำพลาสติก เพราะเมื่อแก้วเหล่านี้อยู่ในดินที่เหมาะสม จะสามารถย่อยสลายเป็นมวลชีวภาพ เป็นประโยชน์กับดินและพืชต่อไป “ขยะบนสแตนด์เชียร์” ส่วนใหญ่จะเป็นวัสดุหรืออุปกรณ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น กระบองลม กระป๋อง ขวดแก้ว หรือบรรจุภัณฑ์ใส่เครื่องดื่ม เราจึงเลือกวิธีจัดการด้วยการ “แยก” เพื่อนำไปส่งขายเพื่อนำกลับคืนสู่กระบวนการ Recycle จนกลายเป็นวัสดุชิ้นใหม่ได้หลากหลายประเภท แล้วถ้าเป็นขยะที่ไม่สามารถ Recycle ได้ล่ะ เพราะบนสแตนด์หรือขบวนพาเหรด ยังมีขยะจำพวกวัสดุเหลือใช้ที่เป็นวัสดุแห้ง ไม่ว่าจะเป็น พู่กระดาษ ของตกแต่งอื่น ๆ ด้วย ขยะเหล่านี้เมื่อเรา “แยก” ออกมาแล้ว เราจะส่งต่อให้โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ นำมันไปเผาเป็นพลังงานความร้อนทดแทนการใช้ถ่านหิน ผ่านกระบวนการ RDF (Refuse Derived Fuel) ยังไม่หมดเท่านั้น เพราะว่าขยะจากสแตนด์หรือขบวนพาเหรดบางชนิด ยังมีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการเพื่อเพิ่มมูลค่า หรือเรียกว่า Upcycle จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นใหม่ หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่า ขวด PET หรือขวดน้ำพลาสติกที่เราคุ้นเคย เส้นใยของมันสามารถนำมาผ่านกระบวนการเพื่อทำเป็นผ้าได้ด้วย ซึ่งขวดเพียงแค่ 7 ขวด ก็สามารถผลิตเป็น “รองเท้า” คู่ใหม่ได้แล้ว ส่วนไวนิล ผ้าต่วน หรือผ้าดิบ ที่ใช้ตกแต่งในขบวนพาเหรด ก็สามารถนำมา Upcycle เพื่อผลิตเป็น “กระเป๋า” ได้ด้วยเช่นกัน และเมื่อเราได้รองเท้าและกระเป๋าใบใหม่มาแล้ว เราก็จะนำไปบริจาคให้กับโรงเรียน หรือน้องๆ เด็กนักเรียนที่ต้องการ ผ่านค่ายอาสาฯ ของทั้งสองมหาวิทยาลัย เพื่อทำให้ผลลัพธ์ของการจัดการขยะในครั้งนี้ สร้างประโยชน์แก่ผู้อื่นได้อีกทอดหนึ่ง Manager online 6.02.20 Manager online 6.02.20

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร