Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อุณหภูมิในเขตขั้วโลกใต้พุ่งแตะระดับสูงสูดเป็นประวัติการณ์   

อุณหภูมิที่ขั้วโลกใต้พุ่งสูงขึ้นแตะระดับสูงสุด นับตั้งแต่มีการเริ่มเก็บสถิติมาเมื่อกว่า 60 ปีที่แล้ว ขณะที่นักวิทยาศาสตร์แสดงความกังวลเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนและปัญหาการละลายของน้ำแข็งในแถบนั้น องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization หรือ WMO) รายงานว่า ทีมวิจัยของอาร์เจนติน่าที่ประจำอยู่ที่แอนตาร์คติกยืนยันว่า อุณหภูมิในเขตขั้วโลกใต้พุ่งสูงถึง 18.3 องศาเซลเซียส ในวันพฤหัสบดีตามเวลาท้องถิ่น ซึ่งสูงกว่าสถิติสูงสุดที่ 17.5 องศาเซลเซียสที่บันทึกไว้เมื่อเดือนมีนาคมปี ค.ศ. 2015 ทั้งนี้ WMO ระบุว่า แม้ระดับอุณหภูมิสูงสุดที่บันทึกได้นี้ไม่ควรจะเกิดขึ้นในแถบขั้วโลกใต้ แต่มีสัญญาณบ่งชี้ว่าสถานการณอาจเลวร้ายลงมาก่อนหน้านี้แล้ว โดยเฉพาะพื้นที่ธารน้ำแข็งในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรแอนตาร์คติกที่ละลายไปแล้วราว 87% โดยมีการละลายเร็วขึ้นกว่าปกติในช่วง 12 ปีที่ผ่านมา ทางองค์การฯ ยังกล่าวด้วยว่า สภาพอากาศที่คาบสมุทรแอนตาร์คติกที่ทีมวิจัยประจำอยู่ เป็นพื้นที่ที่อุหณภูมิปรับสูงขึ้นรวดเร็วที่สุดพื้นที่หนึ่งในโลก โดยมีการเพิ่มขึ้นไปแล้วเกือบ 3 องศาเซลเซียสในช่วงกว่า 50 ปีที่ผ่านมา นอกจากนั้น นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ภาวะโลกร้อนคือปัจจัยหลักที่ทำให้แผ่นน้ำแข็งในแถบขั้วโลกใต้ละลายมากขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นไปด้วย องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกกล่าวว่า จะต้องมีการตรวจสอบรายละเอียดความถูกต้องของรายงานดังกล่าวอีกครั้ง และให้ความเห็นว่า อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นน่าจะเป็นผลมาจากการเคลื่อนตัวของอากาศที่ร้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว มาจากบริเวณยอดเขาในพื้นที่ คาบสมุทรแอนตาร์คติกครอบคลุมพื้นที่ตอนเหนือสุดของทวีป และอยู่ใกล้กับตอนใต้สุดของอเมริกาใต้ Voice of America 8.02.20

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร