Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทย์ฯสหรัฐฯ หาทางสกัด “พิษงู” ช่วยรักษามะเร็ง   

ทีมวิจัยนำโดยนายสตีเฟน แมคเคสซี อาจารย์คณะชีววิทยาจาก University of Northern Colorado เผยผลการศึกษาเกี่ยวกับพิษงูหลากหลายชนิด ที่สามารถจู่โจมเข้าทำลายเซลล์มะเร็งในร่างกายมนุษย์ได้แบบเฉพาะตัว ในการศึกษานี้ นักศึกษาของนายแมคเคสซี จะนำพิษงูจากทั่วทุกมุมโลก เช่นงูหางกระดิ่ง งูแมวเซา และนำพิษงูต่างๆ มาศึกษาลงลึกถึงสารประกอบและโปรตีนภายในพิษงูเหล่านี้ และพบว่า ในพิษงูมีสารประกอบที่มีวิวัฒนาการในตัวเองเพื่อปลิดชีพสัตว์อื่นๆ ซึ่งถูกมองว่าเป็นตัวทำลายสิ่งมีชีวิตทุกอย่างได้ แต่ปรากฏว่า สิ่งที่เป็นอันตรายที่สุดอย่างพิษงูนี้ กลับกลายเป็นหนทางที่เหมาะสมในการรักษาโรคได้ด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม หัวหน้าทีมวิจัยจาก UNC บอกว่า เมื่อไรก็ตามที่เขาเสนอแนวทางการรักษาด้วยพิษงูต่อสาธารณชน ผู้คนจะนึกถึงอันตรายของพิษงูขึ้นมาก่อนเป็นอันดับแรก แต่กลับไม่ได้คำนึงถึงคุณประโยชน์ของสัตว์เลื้อยคลานมีพิษต่อมนุษย์ เหมือนกับเป็นสัญชาตญาณของมนุษย์ที่จะหวาดกลัวสัตว์มีพิษไว้ก่อน การศึกษาคุณประโยชน์ของพิษงู เริ่มต้นมายาวนานตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 ที่มีการนำพิษงูมารักษาโรคความดันโลหิตสูงกับผู้คนหลายล้านชีวิตทั่วโลก แต่นายแมคเคสซี บอกว่า ทีมวิจัยของเขาน่าจะเป็นที่แรกๆ ที่ศึกษาวิจัยถึงความเป็นไปได้ในการใช้สารประกอบในพิษงูเพื่อรักษาโรคมะเร็งอย่างจริงจัง ด้านนายแทนเนอร์ ฮาร์วีย์ หนึ่งในผู้ศึกษาเรื่องพิษงูแมวเซาโดยเฉพาะ บอกว่า พิษงูแต่ละชนิด สามารถรักษาโรคมะเร็งที่แตกต่างกันออกไป และขึ้นอยู่กับปริมาณที่ใช้ในการรักษาด้วย ตัวอย่างเช่น เราสามารถใช้พิษงูแมวเซารักษามะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ หากใช้ในปริมาณน้อยๆ แต่พิษงูแมวเซานี้ไม่สามารถใช้ในการรักษามะเร็งผิวหนังได้ในขณะที่พิษงูชนิดอื่นๆสามารถรักษาได้ ทั้งนี้ การใช้พิษงูบำบัดรักษาโรคมะเร็งไม่ใช่เรื่องยาก แต่สิ่งยากกว่านั้นคือการใช้พิษงูรักษาคนไข้อย่างปลอดภัยต่างหาก ซึ่งทีมวิจัยของ UNC ตั้งเป้าในการจัดสรรสัดส่วนของพิษงูเพื่อให้สามารถจัดการกับโรคมะเร็งในแต่ละชนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพและตรงจุด โดยที่ไม่เข้าไปทำลายเซลล์ปกติของคนไข้ สำหรับการศึกษาวิจัยการบำบัดมะเร็งด้วยพิษงูยังอยู่ในขั้นเริ่มต้นเท่านั้น และทีมวิจัยตั้งเป้าที่จะพัฒนาไปถึงการทดสอบกับผู้ป่วยมะเร็งในอนาคต แต่ในระหว่างนี้ สิ่งที่ทีมวิจัยอยากจะผลักดันมากที่สุด คือ การเรียกร้องให้ผู้คนยุติการฆ่างูที่มีพิษเพียงเพราะความหวาดกลัว เพราะไม่รู้ว่าวันหนึ่งสิ่งที่ดูมีพิษร้ายกับเรา อาจกลายเป็นสิ่งที่ช่วยรักษาชีวิตของเราก็เป็นได้ Voice of America 21.02.20

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร