Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ใครอยากลอง "เนื้อกุ้งจากห้องแล็บ" ??  

ความกังวลในเรื่องของสุขภาพ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ทำให้มีผู้คนจำนวนมากขึ้นงดรับประทานเนื้อสัตว์ ขณะที่เนื้อที่ทำมาจากพืชของบริษัท Beyond Meat Inc. และ Impossible Foods ที่กำลังได้รับความนิยมก็มีขายมากขึ้นตามซูเปอร์มาร์เก็ตและตามร้านอาหาร แต่สิ่งที่บางคนเรียกกันว่า "เนื้อสะอาด" หรือเนื้อที่ปลูกจากเซลล์ในห้องแล็บนั้น ยังคงเป็นแนวคิดที่เพิ่งจะเริ่มต้นเท่านั้น ปัจจุบันบริษัทกว่า 24 แห่งกำลังทำการทดลองผลิตเนื้อปลา เนื้อวัว และเนื้อไก่ในห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์ ธุรกิจเหล่านี้คาดหวังที่จะเข้าสู่ตลาดเนื้อสัตว์ทางเลือก ซึ่งอาจมีมูลค่าถึง 140,000 ล้านดอลลาร์ภายในปีพ.ศ. 2572 การคาดประมาณดังกล่าวมาจาก Barclay ซึ่งเป็นบริษัทให้บริการทางด้านการเงินแห่งหนึ่ง Shiok Meats ผลิตเนื้อกุ้งในห้องแล็บโดยการนำเซลล์กุ้งมาเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ใส่สารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเข้าไป จนเซลล์เหล่านั้นกลายเป็นเนื้อกุ้งใน 4-6 สัปดาห์ Sandhya Sriram ผู้บริหารระดับสูงของ Shiok Meats กล่าวว่า ราคาเนื้อกุ้งที่ผลิตในห้องแล็บนี้ค่อนข้างสูง อยู่ที่กิโลกรัมละ 5,000 ดอลลาร์ ส่วนหมู หรือเกี๊ยวกุ้งเพียงชิ้นเดียวอาจมีราคาสูงถึง 300 ดอลล่าร์ Sriram หวังที่จะลดต้นทุนเนื้อกุ้งลงเหลือ 50 ดอลล่าร์ต่อกิโลกรัมภายในสิ้นปีนี้ และเธอยังหวังที่จะได้เซ็นสัญญาซื้อสารอาหารต้นทุนต่ำที่ช่วยในการเจริญเติบโตของเซลล์กุ้งฉบับใหม่อีกด้วย ในปีหน้า Shiok Meats อาจกลายเป็นบริษัทแรกของโลกที่เปิดตัวผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ที่ผลิตจากเซลล์ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น Shiok Meats ยังจำเป็นต้องได้รับการอนุมัติจากหน่วยงานกำกับดูแลด้านอาหารของรัฐก่อน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าความต้องการเนื้อที่เป็นทางเลือกของผู้คนจะเพิ่มมากขึ้น แต่หลายบริษัทที่ผลิตเนื้อสัตว์จากเซลล์ก็ยังคงต้องเผชิญกับเสียงคัดค้านที่มีต่อผลิตภัณฑ์ของตน ที่สิงคโปร์ ผู้บริโภคหลายคนบอกว่าจะลองรับประทานเนื้อสัตว์ที่ผลิตในห้องแล็บ อย่างเช่น คุณ Pet Loh อายุ 60 ปี กล่าวว่า เธอยินดีที่จะทดลอง แม้ว่าอาจจะไม่กล้าทานบ่อยนัก แต่ก็ยินดีที่จะซื้อและทดลอง เพราะสัตว์ทะเลมีจำนวนลดน้อยลงทุกวัน Paul Teng ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่มหาวิทยาลัย Nanyang Technological กล่าวว่า วิธีการใด ๆ ก็ตามที่จะสามารถสร้างโปรตีนจากสัตว์โดยที่ไม่ทำอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมล้วนเป็นเรื่องที่ดี แต่จำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อทำความเข้าใจกับผลลัพธ์เชิงลบต่าง ๆ ของการสร้างโปรตีนจากเซลล์เหล่านี้ Voice of America 24 กุมภาพันธ์ 2563

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร