เว็บไซต์สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทความเกี่ยวกับมาตรฐาน รวมเว็บไซต์เกี่ยวกับมาตรฐาน

  Codex alimentarius
  NFPA Standard
EPA Test Methods
in CFR
  กฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับของไทย
ด้าน ว/ท

รายชื่อเอกสาร Standard ในศูนย์ประสานงาน ว/ท
  ศัพท์บัญญัติ
  ศัพท์บัญญัติชื่อแร่
  ศัพท์บัญญัติชื่อธาตุ
American National Standards Institute
ASTM International
British Standard Institute
CODEX Alimentarius Standards
European Union law
International Electrotechnical Commission
International Organization for Standardization
Standards Australia


การสื่อสารเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้สารเคมี   

เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2555 สำนักงานเคมีภัณฑ์ยุโรป (ECHA) ได้เสนอผลการศึกษาต่อคณะกรรมาธิการยุโรปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลความปลอดภัยในการใช้สารเคมีกับสาธารณะ โดยผลการศึกษานั้นให้ข้อมูลในเชิงลึกว่าจะปรับปรุงการสื่อสารให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นอันตรายแก่ประชากรสหภาพฯ ได้อย่างไร ประเด็นสำคัญมีดังนี้

1. การรับรู้ของคนทั่วไปถึงฉลากอันตรายใหม่ (new international hazard label) ซึ่งปรากฎบนบรรจุภัณฑ์ของสารเคมีนั้นค่อนข้างต่ำ แต่ผู้บริโภคก็แทบจะไม่ได้ซื้อสารเคมีเหล่านี้ ฉลากนี้ค่อนข้างใหม่แต่ความรู้จักก็เพิ่มขึ้นต่อไป อย่างไรก็ตาม ยังมีความจำเป็นในการสร้างความเข้าใจและเพิ่มความตระหนักในความหมายของฉลากนั้นทั้งในระดับชาติ อุตสาหกรรม และสหภาพฯ
2. ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นอันตรายมีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศรวมทั้งระหว่างกลุ่มเฉพาะต่างๆ กิจกรรมการเพิ่มความตระหนักจะต้องระบุความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นอันตรายของแต่ละประเทศรวมทั้งวิธีการต่างๆ ในการเข้าถึงสิ่งที่เป็นอันตรายของแต่ละกลุ่ม เช่น ครอบครัว คนงาน เด็กในโรงเรียน เป็นต้น
3. คนส่วนใหญ่เลือกวิธีความปลอดภัยในการใช้และการเก็บรักษาเคมีภัณฑ์ในครัวเรือนจากความคุ้นเคย อารมณ์ และประสบการณ์มากกว่าข้อมูลที่ระบุบนบรรจุภัณฑ์ ดังนั้นกิจกรรมการเพิ่มความตระหนักจะต้องคำนึงถึงประเด็นเหล่านี้ด้วย
4. การวิเคราะห์ผลของฉลากสิ่งที่เป็นอันตรายต่อพฤติกรรมและความเข้าใจของประชากรสหภาพฯ จะเป็นประโยชน์ภายหลังจากปี 2558 เมื่อต้องใช้ฉลากใหม่ทดแทนของเดิมกับทุกส่วนผสมของสารเคมี เช่น สี และกาว เป็นต้น
5. ควรส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้ทำรูปลักษณ์และบรรจุภัณฑ์เข้ากับข้อมูลที่ปรากฎในฉลาก เพื่อส่งผ่านข้อความในฉลาก และส่งเสริมพฤติกรรมที่มีความปลอดภัยในผู้บริโภค
6. ECHA ไม่ได้แนะนำให้มีเพียงการเปลี่ยนมาใช้ฉลากตาม CLP เท่านั้น เนื่องจากการให้ภาคสาธารณะได้คุ้นเคยกับระบบใหม่นั้นจะเป็นประโยชน์มากกว่า โดยการเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจากสารเคมีและส่งเสริมให้มีการใช้ในครัวเรือนอย่างปลอดภัย
. . .

...

อ่าน Fulltext



   
Keyword Search  
Browse Search
กรณีค้นชื่อวารสารให้ใช้ Browse Search
: : คำค้น : :
: : ค้นจาก : : 
: : ฐานข้อมูล : :
 
มอก.มาตรฐานบังคับ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
  มาตรฐานสินค้า
  มาตรฐานระบบ
  มาตรฐานทั่วไป
  กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงาน
มาตรฐาน
    สินค้ากลุ่มพืช
    สินค้ากลุ่มปศุสัตว์
    สินค้ากลุ่มสัตว์น้ำ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ มก.ธกส.
  ประเภทอาหาร
  ประเภทไม่ใช่อาหาร
ข้อกำหนดฉลากเขียว
 


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
  
 
 
 
 
 

สถิติจาก truehit.net


   

 
Download Acrobat Reader

Best view with IE 5.0 or later version at 800x600
All comments please mail to
Webmaster
This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร 0 2201 7256 แฟกซ์ 0 2201 7265
Email : info@dss.go.th
ปรับปรุง : Tuesday, May 2, 2017 7:28 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุึประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร