เว็บไซต์สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทความเกี่ยวกับมาตรฐาน รวมเว็บไซต์เกี่ยวกับมาตรฐาน

  Codex alimentarius
  NFPA Standard
EPA Test Methods
in CFR
  กฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับของไทย
ด้าน ว/ท

รายชื่อเอกสาร Standard ในศูนย์ประสานงาน ว/ท
  ศัพท์บัญญัติ
  ศัพท์บัญญัติชื่อแร่
  ศัพท์บัญญัติชื่อธาตุ
American National Standards Institute
ASTM International
British Standard Institute
CODEX Alimentarius Standards
European Union law
International Electrotechnical Commission
International Organization for Standardization
Standards Australia


EU แก้ไขค่าอนุโลมตกค้างสูงสุด (Maximum Levels) ของสารแคดเมี่ยมในสินค้าพืชและสินค้าสัตว์น้ำบางรายการ  

เมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๗ สหภาพยุโรปออกประกาศกฎระเบียบ Commission Regulation (EU) No 488/2014 of 12 May 2014 amending Regulation (EU) No 1881/2006 as regards maximum levels of cadmium in foodstuffs โดยตีพิมพ์ใน EU Official Journal L 138/75 ซึ่งเป็น การกำหนดระดับค่าอนุโลมตกค้างสูงสุดของสารแคดเมี่ยม (cadmium) ในสินค้าอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการ ปนเปื้อน อันเป็นการแก้ไขกฎระเบียบเดิม ซึ่งได้แก่ Regulation (EC) No 1881/2006 เพื่อให้สอดคล้องกับ ผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และผลประเมินความเสี่ยงที่เป็นปัจจุบัน และยกระดับการควบคุมความปลอดภัย ของห่วงโซ่อาหารและสุขอนามัยผู้บริโภคในสหภาพยุโรปให้มีความรัดกุมมากขึ้นกว่าเดิม สรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้

๑. จากที่คณะทำงาน CONTAM Panel ของ EFSA ได้เคยลงมติกำหนดปริมาณสารแคดเมี่ยมที่ร่างกายสามารถรับได้ต่อสัปดาห์โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ (Tolerable Weekly Intake : TWI) ไว้ที่ระดับ ๒.๕ µg/กิโลกรัมของน้ำหนักตัวนั้น ล่าสุดพบว่า ค่าความเสี่ยงที่จะได้รับสารแคดเมี่ยมจากการบริโภคอาหาร มีค่าเท่ากับ ๒.๕ µg/กิโลกรัมของน้ำหนักตัวหรือมากกว่านี้เล็กน้อย โดยพบการ ปนเปื้อนสูงสุดในสาหร่ายทะเล ปลา สินค้าทะเล ชอคโกแลต อาหารโภชนาการพิเศษหรืออาหารลดน้ำหนัก เห็ด เมล็ดพืชน้ำมัน และเครื่องในสัตว์ ดังนั้น ในครั้งนี้ จึงให้มีการปรับค่าอนุโลมตกค้างสูงสุดของสารแคดเมี่ยม ในสินค้าพืชและสัตว์น้ำบางรายการขึ้นใหม่ โดยใช้หลักการการคำนวณของ ALARA (as low as reasonably achievable) ซึ่งเป็นการคำนวณหาค่าที่ต่ำสุดอันควรกำหนดได้โดยคำนึงถึงวิถีการบริโภคของชาวยุโรปเป็นหลัก

๒. สรุปการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้อง ได้ดังนี้

๒.๑ กำหนดค่า MLs ของสารแคดเมี่ยมในสินค้าอาหารกลุ่มเสี่ยง ดังนี้

- ชอคโกแลตและผงโกโก้ ที่ระดับ ๐.๑๐ – ๐.๘๐ µg/kg

- อาหารที่มีส่วนผสมของธัญพืชสำหรับเด็กเล็กและทารก ที่ระดับ ๐.๐๔๐ µg/kg

๒.๒ ปรับเพิ่มค่า MLs ของสารแคดเมี่ยมในสินค้าที่มีโอกาสปนเปื้อนสูงกว่าปกติใน

- นมผงสำหรับเด็กเล็กและทารกที่มีส่วนผสมของถั่วเหลือง หรือที่มีส่วนผสมของทั้งนมวัวและถั่วเหลือง ปรับเพิ่มเป็น ๐.๐๐๕ – ๐.๐๒๐ µg/kg

– ผัก Salsify, Parsnips, Celery และ Horseradish ปรับเพิ่มเป็น ๐.๒๐ µg/kg ให้เท่ากับผัก Celeriac

- ปลาซาร์ดีน (Sardina pilchardus) และ Bichique (Sicyopterus lagocephalus) ปรับค่า MLs เพิ่มเป็น ๐.๒๕ µg/kg เนื่องจากพบว่า เป็นการยากที่จะปฎิบัติตามค่าอนุโลม ตกค้างเดิมที่เคยกำหนดไว้ เนื่องจากมีการปนเปื้อนที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติในระดับค่าที่สูงกว่า อย่างไรก็ดี การบริโภคปลาทั้ง ๒ ชนิดมีปริมาณน้อย จึงไม่มีความเสี่ยงใดๆ ต่อสุขภาพ .  .  .

...

อ่าน Fulltext



   
Keyword Search  
Browse Search
กรณีค้นชื่อวารสารให้ใช้ Browse Search
: : คำค้น : :
: : ค้นจาก : : 
: : ฐานข้อมูล : :
 
มอก.มาตรฐานบังคับ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
  มาตรฐานสินค้า
  มาตรฐานระบบ
  มาตรฐานทั่วไป
  กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงาน
มาตรฐาน
    สินค้ากลุ่มพืช
    สินค้ากลุ่มปศุสัตว์
    สินค้ากลุ่มสัตว์น้ำ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ มก.ธกส.
  ประเภทอาหาร
  ประเภทไม่ใช่อาหาร
ข้อกำหนดฉลากเขียว
 


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
  
 
 
 
 
 

สถิติจาก truehit.net


   

 
Download Acrobat Reader

Best view with IE 5.0 or later version at 800x600
All comments please mail to
Webmaster
This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร 0 2201 7256 แฟกซ์ 0 2201 7265
Email : info@dss.go.th
ปรับปรุง : Tuesday, May 2, 2017 7:28 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุึประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร