Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แผ่นติดข้อมือช่วยวัดระดับน้ำตาลในเลือดผ่านเหงื่อสำหรับผู้ป่วยเบาหวานอาจมีให้ใช้ใน 5 ปี  

แผ่นติดบนผิวหนังเพื่อวัดระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดของผู้ป่วย จะไม่สร้างความเจ็บปวดเหมือนการจิ้มเข็มที่นิ้วมือ และได้รับการพัฒนาโดยทีมนักวิจัยชาวเกาหลี ช่วยตรวจวัดระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดของผู้ป่วยผ่านทางเหงื่อที่ขับออกมา ในรายงานที่ตีพิมพ์ในวารสาร Nature Nanotechnology แผ่นติดบนผิวหนังเพื่อวัดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานนี้ ยังเป็นตัวควบคุมการปล่อยตัวยาที่เรียกว่า ยาเม็ทโฟมิน (metformin) เข้าไปในร่างกายผู้ป่วยด้วย หากพบว่าระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดอยู่ในระดับที่ไม่ปลอดภัยต่อร่างกาย ทีมนักวิจัยประสบความสำเร็จในการทดสอบแผ่นติดผิวหนังนี้ในการทดลองกับหนูทดลองในห้องแล็บ อย่างไรก็ตาม ศาสตราจารย์ Richard Guy ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การคิดค้นและพัฒนายาบำบัดโรค(Pharmaceutical Sciences) แห่งมหาวิทยาลัย Bath ในประเทศอังกฤษกล่าวว่า ร่างกายคนเราต้องการยาเบาหวานในปริมาณที่สูงกว่าร่างกายของหนูทดลอง เขากล่าวว่าคงยังใช้เวลาอีกหลายปี กว่านักวิจัยจะสามารถพัฒนาระบบปล่อยยาเบาหวานโดยอัตโนมัติแก่ผู้ป่วยได้ ทันทีที่แผ่นติดผิวหนังตรวจพบว่าระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดเพิ่มสูงขึ้นเกิน ปกติเขากล่าวว่าระบบตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดอัตโนมัติแ ละการบำบัดที่ตอบสนองทันทีเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกตินี้ ยังเป็นงานที่ท้าทายของวงการการวิจัยด้านเบาหวาน อย่างไรก็ตาม ศาสตราจารย์ Guy เขียนเเสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการคิดค้นแผ่นติดผิวหนังนี้ในวารสาร Nature ว่าแผ่นติดที่ข้อมือซึ่งช่วยวัดระดับน้ำตาลในกระเเสเลือด โดยไม่สร้างความเจ็บปวดเเก่ผู้ป่วย เพราะวัดที่เหงื่อ มีความเป็นไปได้อย่างมากที่จะกลายเป็นวิธีบำบัดเบาหวานที่มีประสิทธิภาพใน อนาคต ขากล่าวว่าทีมนักวิจัยเกาหลีได้เเสดงให้เห็นเเล้วว่าพวกเขามีศักยภาพที่จะเดินหน้าพัฒนาจนสำเร็จ แผ่นติดผิวหนังมีตัวเซ็นเซอร์อัตโนมัติ ที่ช่วยวัดการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดของผู้ใช้ได้ เพื่อเตือนให้ผู้ป่วยรับประทานยาลดระดับน้ำตาล อาทิ ยาเม็ทโฟมินได้ทันทีเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในระดับปกติ ศาสตราจารย์ Guy กล่าวว่า การคิดค้นนี้จะมีผลช่วยให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมและจัดการกับระดับน้ำตาลในกระ เเสเลือดของตนได่ง่ายและสะดวกมากขึ้น เขากล่าวว่าอุปกรณ์ที่ช่วยสร้างความสบายใจเเก่ผู้ป่วย ว่าทุกอย่างปกติดี หรือ ช่วยเตือนว่าระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดไม่ปกติ จะมีประโยชน์อย่างมากแก่ผู้ป่วยเบาหวาน เพราะใช้งานง่ายและไม่สร้างความเจ็บปวดแก่ผู้ใช้ ผู้เชี่ยวชาญชาวอังกฤษคนนี้กล่าวว่า แผ่นตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดผ่านเหงื่อนี้ จะช่วยรักษาระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดของผู้ป่วยเบาหวานไม่ให้สูงจนเป็น อันตราย และเขาเชื่อว่าน่าจะผลิตออกมาให้ใช้กันภายในอีกห้าปีข้างหน้า Voice of America 1 เม.ย.59

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร