Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ลดน้ำตาลในน้ำผลไม้ด้วยวิธีทางไบโอเทค  

SuperSci สัปดาห์นี้ขอเอาใจคนรักสุขภาพด้วยการพาทุกคนมารู้จักกับธุรกิจสตาร์ทอัพน้อง ใหม่ “จู๊ซอินโนเวต” (Juice Innov8) ผู้ใช้วิธีทางไบโอเทคพัฒนาเทคโนโลยีลดน้ำตาลในน้ำผลไม้ ให้มีปริมาณน้ำตาลลดลง หวานลดลง แคลอรี่ต่ำลงแต่คุณภาพยังคงเดิม เพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับคนเมืองผู้รักสุขภาพ นายชนม์ชญงค์ ไตรรัตน์เกยูร ผู้บริหารธุรกิจจู๊ซอินโนเวต กล่าวว่า จู๊ซอินโนเวต เป็นเทคโนโลยีลดปริมาณน้ำตาลในน้ำผลไม้ด้วยวิธีการทางไบโอเทค เนื่องจากปัญหาน้ำตาลในน้ำผลไม้ในตลาดของสหรัฐฯ และยุโรป ในกลุ่มผู้บริโภคเกรดดีเป็นปัญหาใหญ่ เพราะคนซึ่งมีการศึกษาจะทราบว่าในความเป็นจริงน้ำผลไม้มีน้ำตาลสูงมากเทียบ เท่ากับปริมาณน้ำตาลในเครื่องดื่มน้ำอัดลมทั่วไป ซึ่งการบริโภคน้ำตาลมากเกินความต้องการทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา ด้วยเหตุนี้ 5-10 ปีที่ผ่านมายอดขายของผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้จึงลดลงถึง 50 % และมีแนวโน้มที่จะลดลงอีกเรื่อยๆ เมื่อครั้งที่นายชนม์ชญงค์ ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และต้องทำวิจัยเรื่องการเสนอแผนธุรกิจ จึงหยิบปัญหานี้มาเป็นที่ตั้ง แล้วหาทางออกด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ จนพบว่ามีอาจารย์จากภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ทำวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคทางไบโอเทคด้วยการใช้ยีสต์ เปลี่ยนน้ำตาลซึ่งเป็นวิธีใหม่และน่าสนใจมาก เขาจึงขอจดสิทธิบัตรแบบเฉพาะเพื่อขอใช้เทคโนโลยีนี้ ก่อนจะนำไปเป็นหัวข้อในการแข่งขันธุรกิจที่ประเทศต่างๆ จนได้รับความสนใจเป็นอย่างดี นำมาสู่การต่อยอดเป็นธุรกิจสตาร์ทอัพของตัวเองในชื่อของเทคโนโลยีจู๊สอินโน เวท เรื่องน้ำตาลในผลไม้เป็นเรื่องใหญ่มากสำหรับคนยุโรปและสหรัฐ เพราะเขาบริโภคกันปีละ 30 ลิตร ในขณะที่คนเอเชียบริโภคปีละ 3 ลิตร ตลาดและทัศนคติจึงต่างกันมาก เขากินเยอะจึงต้องระวังเยอะและเขาก็มีความรู้ว่าถึงน้ำตาลจากผลไม้จะเป็น น้ำตาลที่ดูดีกว่าแต่สุดท้ายก็ถูกย่อยเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเหมือนกัน อ้วนเหมือนกัน เขาจึงลดปริมาณการซื้อด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นเรื่องปวดหัวมากของบริษัทน้ำผลไม้ในต่างประเทศ แต่ถ้าคุยกับคนไทยอาจจะคิดว่าไม่ใช่ปัญหาใหญ่ หวานมากก็ลดการเติม น้ำตาลสิ คือมันไม่ใช่แบบนั้นครับ น้ำผลไม้ที่ผมสนใจมันมาจากการคั้นไม่มีการผสมน้ำตาล การลดความหวานที่ทำได้ตอนนี้คือการผสมน้ำเจือจาง” ผู้บริหารธุรกิจจู๊ซอินโนเวต เผยแก่ทีมข่าวผู้จัดการวิทยาศาสตร์ สำหรับกลไกของเทคโนโลยีนี้ นายชนม์ชญงค์ อธิบายว่า จะเป็นการเติมยีสต์ชนิดพิเศษ ซึ่งผ่านการคัดเลือกและพัฒนาสายพันะมาอย่างดีลงในน้ำผลไม้ จากนั้นปล่อยให้ยีสต์เปลี่ยนน้ำตาลเป็นพลังงานซึ่งมันจำเป็นต้องใช้กับการ เจริญเติบโตซึ่งนอกจากจะทำให้โมเลกุลน้ำตาลหายไปอันเป็นผลให้ความหวานลดลง ซึ่งแตกต่างจากยีสต์ทั่วไปที่จะเปลี่ยนน้ำตาลเป็นแอลกอฮอล์ โดยการหมักเพื่อลดน้ำตาลในน้ำผลไม้ 1 ครั้งจะใช้เวลาไม่เกิน 24 ชั่วโมง โดยจะลดน้ำตาลได้ประมาณ 25-75% แล้วแต่ความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งขณะนี้มีผู้ผลิตน้ำผลไม้ในสหราชอาณาจักรฯ ติดต่อเพื่อซื้อเทคโนโลยีไปใช้แล้ว1 ราย ผู้จัดการออนไลน์ 25 พ.ค.59

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร