Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

บำบัดน้ำเสียจากย้อมผ้าสีดำด้วยเทคนิคจากกรมวิทย์บริการ  

ขณะที่มีความต้องการย้อมผ้าสีดำจำนวนมากก็มีความกังวลว่าจะจัดการน้ำเสียจากการฟอกย้อมอย่างไร ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์บริการได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และได้เปิดบูธให้บริการจัดการน้ำทิ้งที่เกิดจากการย้อมผ้าสีดำ พร้อมทั้งเผยแพร่เทคนิคเพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ได้นำไปใช้ ทั้งนี้ กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) ได้เปิดศูนย์บริการบำบัดน้ำเสียจากการฟอกย้อมผ้าสีดำ ณ จุดให้บริการสนามราชตฤณมัยสมาคม (สนามม้านางเลิ้ง) หลังตระหนักถึงปัญหาน้ำทิ้งดังกล่าว และได้รับการประสานขอความร่วมมือจากกระทรวงศึกษาธิการในการดำเนินการจัดการน้ำทิ้งที่เกิดจากการย้อมผ้าให้เป็นสีดำ พร้อมกันนี้ได้เผยแพร่เทคนิคการบำบัดน้ำเสียจากการฟอกย้อมผ้าสีดำ โดยมีอุปกรณ์และสารเคมี ดังนี้ 1.ถังน้ำขนาด 20 ลิตร 2.ไม้สำหรับกวนผสม 3.ลังพลาสติก 4.กระดาษวัด pH 5.ทราย 6.ถ่านกัมมันต์ 7.ใยแก้วสำหรับตู้เลี้ยงปลา 8.สารส้ม 9.คลอรีนผง 10.ปูนขาว ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย 1.เทน้ำเหลือทิ้งจากการฟอกย้อมสีลงถังน้ำ 20 ลิตร 2.ค่อยเติมสารส้มผงและคลอรีนผงละลายในน้ำ ในสัดส่วนสารส้ม 3 กรัม ต่อ คลอรีนผง 1 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร แล้วคนให้ละลาย ;3.ทิ้งให้ตกตะกอนประมาณ 15-30 นาที โดยสังเกตตะกอนนอนก้นภาชนะ 4.นำลังพลาสติกมารองด้วยใยแก้วที่ชั้นล่างสุด จากนั้นรองชั้นบนต่อมาด้วยถ่านกัมมันต์ แล้วรองชั้นบนถัดมาด้วยทราย และรองชั้นบนสุดท้ายด้วยใยแก้ว จากนั้นค่อยๆ เทน้ำที่ตกตะกอน โดยเทส่วนที่เป็นน้ำใสก่อนลงลังพลาสติกที่รองด้วยวัสดุต่างๆ ตามที่ระบุไว้ แล้วเทส่วนที่มีตะกอนตามหลัง โดยใช้ภาชนะมารองน้ำที่ผ่านการกรอง 5.วัดค่า pH ของน้ำ หากต่ำกว่า 5 ให้เติมปูนขาวจนได้ pH 6.0-8.5 แล้วปล่อยทิ้งสู่สิ่งแวดล้อม 6.สำหรับตะกอนบนใยแก้วแล้ววัสดุกรองที่เสื่อมสภาพ ให้นำไปกำจัดด้วยการฝังกลบหรือเผา ***ข้อควรระวังในการใช้สารเคมี ควรสวมแว่นตาและถุงมือขณะบำบัดน้ำทิ้ง อ่านฉลากเตือนข้างบรรจุภัณฑ์สารเคมีและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ในส่วนของผงคลอรีนให้ตักด้วยช้อนพลาสติกที่แห้งและสะอาด และระวังอย่าให้ผงคลอรีนสัมผัสกรด ด่าง วัตถุไวไฟ และเคมีภัณฑ์อื่นๆ เพราะอาจทำให้เกิดปฏิกิริยารุนแรง หลังใช้งานแล้วเก็บสารเคมีในที่แห้ง ไกลจากเปลวไฟ และห่างจากสัตว์เลี้ยงและเด็กกรณีผงคลอรีนถูกไฟไหม้จะปล่อยก๊าซออกซิเจน จึงต้องดับไฟด้วยเครื่องดับเพลิงที่ให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือผงเคมีสำหรับดับไฟ ข้อมูลจากกรมวิทยาศาสตร์บริการ ผู้จัดการออนไลน์ 27 ต.ค.59

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร