Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

องค์การอุตินิยมวิทยาโลกเร่งเร้าให้ทุกชาติลดปริมาณแก๊สคาร์บอนในชั้นบรรยากาศโลก   

WMO ชี้ว่ามีการปล่อยเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลกในปีนี้สูงมากเป็นประวัติการณ์ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากปรากฏการ์ณ El Nino องค์การอุตินิยมวิทยาโลกหรือ WMO เปิดเผยว่าปริมาณเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่สั่งสมในชั้นบรรยากาศโลกได้เพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ระดับ 400 ส่วนต่อหนึ่งล้านส่วนแล้วเมื่อปีที่แล้วและยังได้เพิ่มสูงขึ้นไปอีกในปีนี้ นาย Petteri Taalas เลขาธิการของ WMO กล่าวว่า การเพิ่มขึ้นของปริมาณเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศโลกนี้ สร้างผลกระทบทางลบต่อโลก เนื่องจากเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่ในชั้นบรรยากาศโลกไปอีกนานหลายชั่วอายุคน เขากล่าวว่า เรากำลังก้าวย่างไปผิดทาง เเละภาวะโลกร้อนกำลังเพิ่มความรุนแรงขึ้น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจากซากพืชและซากสัตว์ดึกดำบรรพ์และกิจกรรมอื่นๆ ของมนุษย์ บรรดานักอุตุนิยมวิทยาชี้ว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ส่งผลนับเป็น 65 เปอร์เซ็นต์ของปัจจัยที่ทำให้โลกร้อนขึ้น ส่วนแก๊สเรือนกระจกอีกสองชนิดคือ แก๊สมีเทนและไนเตรตออกไซด์ ส่งผลให้โลกร้อนขึ้น 17 เปอร์เซ็นต์และ 6 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ นาย Taalas เลขาธิการของ WMO กล่าวกับผู้สื่อข่าววีโอเอว่า เป็นไปไม่ได้ที่จะจัดการกับปัญหาโลกร้อนโดยไม่จัดการกับการปล่อยเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไปสู่ชั้นบรรยากาศโลก เพราะแก๊สเรือนกระจกชนิดนี้จะคงอยู่ในชั้นบรรยากาศโลกเป็นระยะเวลานานมาก มีการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์หลายชิ้นที่ประมาณว่า เราอาจต้องใช้เวลานานหลายหมื่นปีเพื่อปรับปรุงให้ระดับเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศโลก ให้กลับไปอยู่ในระดับเดียวกับในช่วงก่อนหน้ายุคอุตสาหกรรม ดังนั้นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนมากที่คนเราต้องเริ่มลดปริมาณเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศโลกลง หากเราไม่ทำเช่นนั้น ปัญหานี้จะคงอยู่กับเราไปอีกหลายพันถึงหลายหมื่นปี นาย Taalas เลขาธิการของ WMO ยินดีต่อข้อตกลงว่าด้วยสภาพภูมิอากาศโลกแห่งปารีส (Paris Climate Agreement) แต่เขากล่าวว่า ข้อตกลงดังกล่าวมีผลบังคับค่อนข้างจำกัดเพราะการลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของแต่ละประเทศ ไม่ได้เป็นข้อบังคับตามกฏหมายแต่อย่างใด เขาชี้ว่าโลกเรายังมีโอกาสในการแก้ปัญหานี้ในช่วงหลายสิบปีข้างหน้า หากปรับเปลี่ยนจากการแก้ปัญหาด้วยความสมัครใจเป็นการปฏิบัติการอย่างเเข็งขัน เขากล่าวปิดท้ายว่า แนวโน้มทางลบยังจะเกิดขึ้นต่อไปในช่วงหลายสิบปีต่อจากนี้ แต่หากชาติต่างๆ เริ่มลดปริมาณเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลงเสียตั้งเเต่ตอนนี้ เขาคิดว่าปัญหาภาวะโลกร้อนก็จะเริ่มปรับปรุงดีขึ้นภายในปี ค.ศ. 2060 หรืออีก 44 ปีข้างหน้า Voice of America 7.11.2016

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร