Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ผลวิจัยชี้ 'การเพิ่มความเเข็งเเกร่งของกล้ามเนื้อ' ช่วยปรับปรุงการทำงานของสมองในผู้ใหญ่สูงวัย   

คนที่มีอาการบกพร่องทางความคิดอ่านแบบอ่อนหรือ MCI จะมีความสามารถในการจดจำที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ยังสามารถใช้ชีวิตได้เป็นปกติดี ในการศึกษาที่จัดทำในออสเตรเลีย ทีมนักวิจัยเปิดเผยว่าการออกกำลังกายด้วยการยกน้ำหนักแบบค่อยๆ เพิ่มน้ำหนัก ช่วยปรับปรุงการทำงานของสมองในคนที่อายุ 55 ปีขึ้นไป ในการศึกษาที่เรียกว่า Study of Mental and Resistance Training หรือ SMART มีผู้เข้าร่วมการวิจัยที่มีอาการ MCI ทั้งหมด 100 คน อายุตั้งเเต่ 55 ปี ถึง 86 ปี ทีมนักวิจัยแบ่งผู้เข้าร่วมการวิจัยออกเป็นสี่กลุ่ม ผู้เข้าร่วมการวิจัยกลุ่มแรก ได้รับการฝึกสอนให้ออกกำลังกายด้วยการยกน้ำหนักแบบค่อยๆ เพิ่มน้ำหนัก และการฝึกความคิดอ่านด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่สองได้รับการฝึกสอนในยกน้ำหนักแบบค่อยๆ เพิ่มน้ำหนัก แต่ได้รับการฝึกสมองระบบคอมพิวเตอร์แบบปลอม กลุ่มที่สามได้รับการฝึกสมอง เเต่เข้ารับการฝึกความเเข็งเเกร่งของกล้ามเนื้อเเบบหลอกเป็นประจำ และกลุ่มที่ 4 กลุ่มสุดท้าย ได้รับการฝึกทั้งสองอย่างแบบปลอม ทีมนักวิจัยออสเตรเลียทีมนี้ต้องการศึกษาว่า การฝึกความเเข็งเเกร่งเเก่กล้ามเนื้อจะมีผลดีต่อการทำงานของสมองหรือไม่ การออกกำลังกายเพื่อผึกความเเข็งเเกร่งของกล้ามเนื้อนี้ รวมทั้งการยกน้ำหนักแบบค่อยๆเพิ่มน้ำหนัก ผู้เข้าร่วมการศึกษาที่สามารถยกน้ำหนักได้ไปจนถึงระดับ intensity ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของความเเข็งเเกร่งสูงสุดของพวกเขา มีความสามารถทางความคิดอ่านที่ดีขึ้นมากที่สุด เมื่อวัดด้วยการวัดระดับความสามารถทางความคิดอ่านเพื่อตรวจหาโรคอัลไซม์เมอร์ส

ผลดีนี้คงอยู่ได้นานถึงหนึ่งปี หลังจากผู้เข้าร่วมการวิจัยได้เลิกฝึกความเเข็งเเกร่งของกล้ามเนื้อไปแล้วก็ตาม ทีมนักวิจัยเปิดเผยว่า ผลการวิจัยนี้เเสดงว่าผู้ใหญ่ที่สูงวัยขึ้น ควรฝึกความเเข็งเเกร่งของกล้ามเนื้อ อย่างการยกน้ำหนักอย่างน้อย 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ผลการศึกษานี้ยืนยันผลการศึกษาหลายชิ้นเกี่ยวกับ MRI ที่จัดทำก่อนหน้านี้ ที่เเสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของขนาดของสมองหลายส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงด้านความสามารถทางความคิดอ่านในบรรดาคนยกน้ำหนัก อาจเป็นไปได้ว่าในอนาคต การฝึกความเเข็งเเกร่งของกล้ามเนื้อด้วยการยกน้ำหนัก อาจจะนำไปใช้ป้องกันความบกพร่องทางความคิดอ่านได้ หากทีมนักวิจัยสามารถยืนยันได้ว่าการฝึกกล้ามเนื้อให้เเข็งเเกร่งขึ้นนี้ มีประโยชน์ต่อสมองของคนเรา Voice of America 14.11.2016

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร