Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ทีมนักวิจัยนานาชาติศึกษาแบคทีเรียในดินเพื่อพัฒนายาปฏิชีวนะบำบัด 'วัณโรคดื้อยา'   

วัณโรคเป็นหนึ่งในสาเหตุของการเสียชีวิตของคนจำนวนมากทั่วโลก โดยถือเป็นหนึ่งในสิบสาเหตุอันดับต้นๆ องค์การอนามัยโลกรายงานว่า มีคนติดเชื้อวัณโรครายใหม่ปีละ 10 ล้าน 4 เเสนคนและเสียชีวิตปีละ 1 ล้าน 8 เเสนคน เชื้อวัณโรคดื้อยาปฏิชีวนะเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตจำนวนมาก ในปี 2015 ประมาณว่าคนที่ติดเชื้อวัณโรคจำนวน 480,000 คน ไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะหลักสองชนิดที่ใช้รักษาโรคนี้ และมีรายงานว่าผู้ป่วย 250,000 คนเสียชีวิตจากการติดเชื้อวัณโรคดื้อยา ในขณะนี้ ทีมนักวิจัยนานาชาติกำลังเสาะหาเเหล่งที่มาในธรรมชาติเเหล่งใหม่ของยาปฏิชีวนะเพื่อนำมาใช้บำบัดวัณโรค พวกเขาค้นพบเชื้อเเบคทีเรียสายพันธุ์หนึ่งที่อยู่ในกลุ่มเเบคทีเรียที่เรียกว่า Streptomyces ซึ่งพบในดิน ในห้องทดลอง ทีมนักวิจัยนานาชาติได้สกัดสารหลายชนิดในเชื้อเเบคทีเรียชนิดนี้ ซึ่งใช้ต่อต้านเอ็นไซม์ชนิดหนึ่งในเชื้อ mycobacterium ซึ่งเป็นเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดวัณโรค เอ็นไซม์ที่ว่านี้มีบทบาทสำคัญเพราะช่วยให้เชื้อวัณโรคสร้างผนังเซลล์ของตัวเชื้อโรค ทีมนักวิจัยใช้สารเคมีสังเคราะห์เพื่อสร้างสารเลียนเเบบสารที่พบเชื้อเเบคทีเรียในดินชนิดนี้ขึ้นมาใหม่ และปรับเเต่งให้มีฤทธิ์เเรงกว่าสารธรรมชาติต้นเเบบ David Roper ผู้เชี่ยวชาญด้านโครงสร้างทางชีววิทยาแห่งมหาวิทยาลัย Warwick ในอังกฤษ สมาชิกทีมนักวิจัยนานาชาติที่ค้นพบเชื้อเเบคทีเรีย Streptomyces ทีมนี้ เปรียบเทียบว่า เอ็นไซม์ของเชื้อวัณโรคเหมือนกับกระดูกในร่างกายของคนเรา หากเรารื้อเอาโครงกระดูกออกจากร่างกาย คนเราจะไม่สามารถทำไอะไรได้เลย เช่นเดียวกับการผลิตเอ็นไซม์ต่างๆ ที่ซับซ้อนภายในเซลล์ของเชื้อวัณโรค เป็นหลักการเดียวกับกับการทำงานของยาเพนนิซิลิน เเม้ว่าจะเป็นเอ็นไซม์คนละตัวกัน และยาปฏิชีวนะชนิดอื่นอย่างยาแวนโคมัยซิน เป็นต้น ดังนั้นการผลิตสารเอ็นไซม์ของผนังเซลล์เเบคทีเรียจึงเป็นเป้าหมายของยาปฏิชีวนะ Roper ผู้เชี่ยวชาญอังกฤษกล่าวว่า เชื้อเเบคทีเรียชนิดใหม่ที่ค้นพบในดิน ใช้สารที่ผลิตขึ้นมาทำลายเชื้อเเบคทีเรียชนิดอื่นที่อยู่ใกล้ๆ ซึ่งเขาบอกว่าวิธีนี้ช่วยให้เเบคทีเรียมีโอกาสอยู่รอดสูงขึ้นRoper กล่าวว่า เหตุผลหนึ่งที่ทีมนักวิจัยพยายามค้นหาสารที่มีอยู่ในธรรมชาติ เนื่องมาจากสารธรรมชาติเหล่านี้ได้จากธรรมชาติ จึงผ่านการวิวัฒนาการมานานหลายพันปีและคงรักษาเอาไว้ในธรรมชาติ ดังนั้นจึงน่าจะมีประสิทธิผลที่ยาวนาน แต่อุปสรรคที่ทีมนักวิจัยนานาชาติทีมนี้ประสบ คือการเลี้ยงเเบคทีเรีย Streptomyces ที่พบในดินภายในห้องทดลอง และทีมงานกำลังมองหาวิธีการอยู่ในขณะนี้ ทีมงานวิจัยชี้ว่า การพัฒนาให้เชื้อเเบคทีเรียในดินชนิดใหม่นี้กลายเป็นยาบำบัดวัณโรคต้องใช้เวลา และแม้สามารถพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่จากเชื้อเเบคทีเรียในดินชนิดใหม่ขึ้นมาใช้ได้สำเร็จ ทีมนักวิจัยก็ยังไม่สามารถรับประกันได้ว่าเชื้อวัณโรคจะไม่ดื้อต่อยาตัวใหม่ เเต่อย่างน้อย นักวิจัยก็ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่เกิดขึ้นกับเชื้อวัณโรค ว่าต้องใช้ยาปฏิชีวนะอย่างระมัดระวังเป็นอย่างมาก เพื่อคงประสิทธิผลของยาเอาไว้ Voice of America 28 มี.ค.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร