Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

"อีลอน มัสก์" เผยแผนพัฒนาระบบประสาทเชื่อมคอมพิวเตอร์ “Neuralink” สร้างสมองกลสุดยอดอัจฉริยะ!   

มหาเศรษฐี Elon Musk ผู้ก่อตั้งบริษัท SpaceX และบริษัทรถยนต์ Tesla มักจะมีแนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมใหม่ๆ ออกมาให้ฮือฮากันเสมอ และเมื่อไม่นานนี้ นักพัฒนาเทคโนโลยีผู้นี้ได้ประกาศโครงการลงทุนครั้งใหม่เรียกว่า Neuralink” ซึ่งจะมุ่งเน้นที่การพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์กับสมองของคนเรา เพื่อสร้าง “Super-intelligent Computer” ในอนาคต ที่ผ่านมามหาเศรษฐีด้านเทคโนโลยี Elon Musk คือผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีผู้หนึ่งที่ออกมาพูดถึงภัยคุกคามจากระบบปัญญาประดิษฐ์ที่อาจฉลาดเกินมนุษย์ จนถึงขั้นเป็นผู้ควบคุมหรือทำลายล้างมนุษยชาติได้ แต่เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว Wall Street Journal รายงานว่า เวลานี้ Elon Musk มีแผนพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกถ่ายสมองแบบใหม่เพื่อช่วยรักษาอาการผิดปกติต่อระบบประสาทของมนุษย์ ภายใต้ชื่อ "Neuralink” และในอนาคตอาจพัฒนาไปจนถึงขั้นเชื่อมต่อสมองของมนุษย์เข้ากับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างสมองกลสุดยอดอัจฉริยะ หรือ “Super-intelligent Computer” ก็เป็นได้ การปลูกถ่ายอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ เครื่องส่งกระแสไฟฟ้า หรือคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เข้าไปในสมองของมนุษย์เพื่อช่วยในการรักษาโรคต่างๆ เช่น โรคพาร์คินสัน โรคลมชัก หรืออาการเจ็บปวดเรื้อรัง ได้ถูกนำมาใช้หลายปีมาแล้ว และเมื่อปีที่แล้ว นักวิจัยสามารถคิดค้นวิธีให้ผู้ป่วยเป็นอัมพาตสามารถส่งสัญญาณจากสมองของพวกเขาผ่านชิพคอมพิวเตอร์ เพื่อขยับแขนกลได้อย่างประสบผลสำเร็จ แต่ดูเหมือนจินตนาการของ Elon Musk ไปไกลกว่านั้น เพราะเขาต้องการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ดังกล่าว ในการเพิ่มศักยภาพการทำงานของสมองในส่วนของการรับรู้ ความคิดและสติปัญญา เพื่อให้สมองของมนุษย์เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อย่างสมบูรณ์ หรือที่เรียกว่า “Advanced neural interfaces” หรือการปฏิสัมพันธ์ของระบบประสาทขั้นสูงกับคอมพิวเตอร์ นอกจาก Musk แล้ว นักพัฒนาเทคโนโลยีอีกผู้หนึ่งคือ Bryon Johnson ผู้ก่อตั้ง PayPal ก็กำลังพัฒนานวัตกรรมแบบเดียวกันนี้ผ่านบริษัท Kernel ที่เขาก่อตั้งขึ้นเมื่อปีที่แล้วเช่นกัน บรรดาผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาทต่างเชื่อว่า ในที่สุดแล้วเทคโนโลยีแบบที่ทั้งสองบริษัทนี้พัฒนาอยู่จะมาถึงอย่างแน่นอน แต่อาจต้องใช้เวลานับทศวรรษ ไม่ใช่แค่ 4-5 ปีอย่างที่ Elon Musk ตั้งเป้าไว้ เพราะยังมีอุปสรรคอีกหลายอย่างที่ต้องแก้ไขจัดการ ขณะที่คุณ Amy Webb ซีอีโอของสถาบัน Future Today ชี้ว่า การประกาศโครงการ “Neuralink” ครั้งนี้ คือส่วนหนึ่งของการวิจัยเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับเครื่องจักรกลหรือหุ่นยนต์ ที่เริ่มต้นมากว่า 10 ปีก่อนตามมหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหรัฐฯ ผู้เชี่ยวชาญผู้นี้ยังเตือนด้วยว่า กระแสความตื่นตัวในเรื่อง “Super-intelligent Computer” ที่เกิดจากการประกาศโครงการ “Neuralink” อาจนำไปสู่ “ภาวะจำศีลของการพัฒนาปัญญา ประดิษฐ์” อีกครั้งหนึ่ง เหมือนที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในช่วงสงครามเย็น เมื่อการพัฒนานวัตกรรมต่างๆ ต้องหยุดชะงักลงหลังเกิดความล้มเหลวในการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เคยสร้างแรงสั่นสะเทือนไปทั่วในตอนเปิดตัว คุณ Amy Webb สรุปว่า “เป็นเรื่องดีที่จะพูดถึงศักยภาพใหม่ๆ ในด้านเทคโนโลยี แต่ปัญหาคือหากโครงการที่พูดไว้อย่างใหญ่โตนั้นเกิดไม่สามารถทำได้ขึ้นมา ก็อาจเกิดผลต่อเนื่องไปถึงโครงการพัฒนานวัตกรรมอื่นๆ เช่น เงินทุนที่ลดลงเพราะกระแสที่เริ่มจืดจาง” Voice of America 04.04.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร