Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เจอ “ปลาถ้ำ” ในยุโรปครั้งแรก  

นักดำน้ำเจอ “ปลาถ้ำ” ในถ้ำใต้น้ำที่เยอรมนี ซึ่งผู้เชี่ยวชาญระบุว่าเป็นปลาถ้ำชนิดแรกที่พบในยุโรป แม้จะมีปลาถ้ำในโลกมากกว่า 150 ชนิด แต่ยังไม่เคยพบในยุโรปและแอนตาร์กติกามาก่อน ปลาถ้ำตัวแรกในยุโรปนี้ถูกพบโดยนักดำน้ำชื่อ “โจอาคิม ไครเซลไมเออร์” (Joachim Kreiselmaier) เป็นครั้งแรกเมื่อเดือน ส.ค.2015 ระหว่างสำรวจส่วนที่ลึกที่สุดของเส้นทางแม่น้ำดานูบ-อาค (Danube-Aach) ไครไซลไมเออร์ได้พบปลาลอช (loach) ตัวสีชมพูในสกุลบาร์บาทูลา (Barbatula) ที่ถ้ำใต้น้ำอันหนาวเหน็บและห่างไกล ซึ่งเป็นจุดเชื่อมระหว่างแม่น้ำดานูบและบ่อน้ำพุอาคทอปฟ์ (Aachtopf) ทางตอนใต้ของเยอรมนี บริเวณที่พบปลาถ้ำดังกล่าวนั้นมีนักดำน้ำไม่เกิน 30 คนที่เข้าไปถึง โดยไครไซลไมเออร์อธิบายว่าเป็นเพราะทัศนวิสัยที่ไม่ดี กระแสน้ำแรง อีกทั้งยังมีอุณหภูมิหนาวเหน็บ และทางเข้ายังวกวน นักดำน้ำส่วนใหญ่จึงไม่กลับไปบริเวณนั้นอีก ตอนนี้มีปลาถ้ำทั่วโลกกว่า 150 ชนิด ซึ่งส่วนใหญ่มีเม็ดสีของผิวเพียงเล็กน้อย และไม่มีตาหรือมีตาขนาดเล็กมากๆ และล้วนอาศัยอยู่แทบทุกทวีป ยกเว้นแอนตาร์กติกาและยุโรป เอเอฟพีได้รายงานถึงการค้นพบนี้ว่า นักวิจัยได้ตีพิมพ์ผลงานเผยแพร่ลงวารสารวิชาการเคอร์เรนท์ไบโอโลจี (Current Biolog)อีกทั้งในรายงานทางวิชาการยังระบุถึงการค้นพบของนักดำน้ำด้วย หลังจากไครไซลไมเออร์พบปลาถ้ำแล้ว เขาได้บันทึกภาพปลาดังล่าวไว้บางส่วน แล้วนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญเรื่องปลาถ้ำดู และกลับไปดำน้ำที่บริเวณดังกล่าวอีกครั้ง พร้อมทั้งจับปลาถ้ำดังกล่าวตัวเป็นๆ กลับมาเพื่อศึกษาด้วย นักวิจัยได้เปรียบเทียบปลาถ้ำดังกล่าวและคุณลักษณะทางพันธุกรรมกับปลาอื่นๆ ที่ว่ายน้ำอยู่ใกล้ผิวน้ำของถ้ำและยืนยันว่า ปลาลอชดังกล่าวคือปลาถ้ำอย่างแน่นอน และตัดขาดจากประชากรปลาอื่นๆ อีกทั้งยังเป็นปลาถ้ำชนิดแรกที่รู้จักในยุโรป เพราะอาศัยอยู่ในความมืด ตาของปลาลอชมีตาขนาดเล็กกว่าปลาอื่นและโค้งเข้าข้างใน ส่วนสีของปลาค่อนข้างจางกว่าปลาอื่นๆ อย่างมาก นอกจากนี้ยังมีเงี่ยงยาวๆ คล้ายหนวดบนหัวและช่องจมูก ผู้เชี่ยวชาญยังระบุอีกว่า ปลาลอชในยุโรปนี้น่าจะโผล่มาเมื่อประมาณ 20,000 ปีที่แล้ว โดย อาร์เน นอลเต (Arne Nolte) จากมหาวิทยาลัยโอลเดนเบิร์ก (University of Oldenburg) และสถาบันชีววิวัฒนาการมักซ์พลังก์ (Max Planck Institute for Evolutionary Biology) บอกว่าเป็นช่วงเวลาที่ธารน้ำแข็งลำลายและทำให้ระบบเหมาะสำหรับเป็นแหล่งอาศัยของปลา นักดำน้ำเจอ “ปลาถ้ำ” ในถ้ำใต้น้ำที่เยอรมนี ซึ่งผู้เชี่ยวชาญระบุว่าเป็นปลาถ้ำชนิดแรกที่พบในยุโรป แม้จะมีปลาถ้ำในโลกมากกว่า 150 ชนิด แต่ยังไม่เคยพบในยุโรปและแอนตาร์กติกามาก่อน ปลาถ้ำตัวแรกในยุโรปนี้ถูกพบโดยนักดำน้ำชื่อ “โจอาคิม ไครเซลไมเออร์” (Joachim Kreiselmaier) เป็นครั้งแรกเมื่อเดือน ส.ค.2015 ระหว่างสำรวจส่วนที่ลึกที่สุดของเส้นทางแม่น้ำดานูบ-อาค (Danube-Aach) ไครไซลไมเออร์ได้พบปลาลอช (loach) ตัวสีชมพูในสกุลบาร์บาทูลา (Barbatula) ที่ถ้ำใต้น้ำอันหนาวเหน็บและห่างไกล ซึ่งเป็นจุดเชื่อมระหว่างแม่น้ำดานูบและบ่อน้ำพุอาคทอปฟ์ (Aachtopf) ทางตอนใต้ของเยอรมนี บริเวณที่พบปลาถ้ำดังกล่าวนั้นมีนักดำน้ำไม่เกิน 30 คนที่เข้าไปถึง โดยไครไซลไมเออร์อธิบายว่าเป็นเพราะทัศนวิสัยที่ไม่ดี กระแสน้ำแรง อีกทั้งยังมีอุณหภูมิหนาวเหน็บ และทางเข้ายังวกวน นักดำน้ำส่วนใหญ่จึงไม่กลับไปบริเวณนั้นอีก ตอนนี้มีปลาถ้ำทั่วโลกกว่า 150 ชนิด ซึ่งส่วนใหญ่มีเม็ดสีของผิวเพียงเล็กน้อย และไม่มีตาหรือมีตาขนาดเล็กมากๆ และล้วนอาศัยอยู่แทบทุกทวีป ยกเว้นแอนตาร์กติกาและยุโรป เอเอฟพีได้รายงานถึงการค้นพบนี้ว่า นักวิจัยได้ตีพิมพ์ผลงานเผยแพร่ลงวารสารวิชาการเคอร์เรนท์ไบโอโลจี (Current Biolog) อีกทั้งในรายงานทางวิชาการยังระบุถึงการค้นพบของนักดำน้ำด้วย หลังจากไครไซลไมเออร์พบปลาถ้ำแล้ว เขาได้บันทึกภาพปลาดังล่าวไว้บางส่วน แล้วนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญเรื่องปลาถ้ำดู และกลับไปดำน้ำที่บริเวณดังกล่าวอีกครั้ง พร้อมทั้งจับปลาถ้ำดังกล่าวตัวเป็นๆ กลับมาเพื่อศึกษาด้วย นักวิจัยได้เปรียบเทียบปลาถ้ำดังกล่าวและคุณลักษณะทางพันธุกรรมกับปลาอื่นๆ ที่ว่ายน้ำอยู่ใกล้ผิวน้ำของถ้ำและยืนยันว่า ปลาลอชดังกล่าวคือปลาถ้ำอย่างแน่นอน และตัดขาดจากประชากรปลาอื่นๆ อีกทั้งยังเป็นปลาถ้ำชนิดแรกที่รู้จักในยุโรป เพราะอาศัยอยู่ในความมืด ตาของปลาลอชมีตาขนาดเล็กกว่าปลาอื่นและโค้งเข้าข้างใน ส่วนสีของปลาค่อนข้างจางกว่าปลาอื่นๆ อย่างมาก นอกจากนี้ยังมีเงี่ยงยาวๆ คล้ายหนวดบนหัวและช่องจมูก ผู้เชี่ยวชาญยังระบุอีกว่า ปลาลอชในยุโรปนี้น่าจะโผล่มาเมื่อประมาณ 20,000 ปีที่แล้ว โดย อาร์เน นอลเต (Arne Nolte) จากมหาวิทยาลัยโอลเดนเบิร์ก (University of Oldenburg) และสถาบันชีววิวัฒนาการมักซ์พลังก์ (Max Planck Institute for Evolutionary Biology) บอกว่าเป็นช่วงเวลาที่ธารน้ำแข็งลำลายและทำให้ระบบเหมาะสำหรับเป็นแหล่งอาศัยของปลา ผู้จัดการออนไลน์ 4 เม.ย.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร