Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยพบว่าความสามารถของสมองในการช่วยให้คนหลับสนิทเริ่มเสื่อมลงตั้งแต่อายุย่างเข้า 30 ปี   

นักวิทยาศาสตร์กำลังศึกษาปัญหาการนอนหลับว่ามีผลต่อโรคภัยต่างๆ อย่างไร เช่นโรคหัวใจ มะเร็ง และอัลไซเมอร์ และพยายามหาทางแก้ไขโดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงวัย ผู้เชี่ยวชาญต้องการช่วยให้คนนอนหลับได้ดียาวนานและบ่อยมากขึ้นสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งน่าจะทำให้กลุ่มประชากรนี้มีสุขภาพที่ดีขึ้นด้วย นักวิจัยกล่าวว่าเมื่อคนมีอายุมากขึ้น คุณภาพและความบ่อยของการนอนหลับสนิทลดลงและการหลับสนิทมักเกิดขึ้นไม่ต่อเนื่อง ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะระบบประสาทที่ควบคุมการนอนเสื่อมลงอย่างช้าๆ ตามวัย ความเสื่อมถอยนี้อาจเริ่มเร็วกว่าที่หลายคนคิด ข้อมูลระบุว่าระบบประสาทด้านการนอนหลับของเราเริ่มอ่อนแอตั้งแต่ช่วงอายุ 30 ปี นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าเมื่อคนอายุย่างเข้า 50 ปี ความสามารถในการนอนหลับสนิทจะเสื่อมลงร้อยละ 50 โดยเฉลี่ย ศาสตราจารย์ แมทธิว วอล์คเกอร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพการนอน จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบิร์คลี่ย์กล่าวว่าการนอนหลับชนิดที่เกิดความฝันและมีการเคลื่อนไหวของตาขณะหลับ เป็นการหลับไม่สนิท คุณภาพของการนอนลักษณะนี้ไม่เสื่อมถอยมากนักเมื่อคนอายุมากขึ้น การนอนหลับประเภทนี้เรียกว่า REM Sleep อาจารย์วอล์คเกอร์ซึ่งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ Sleep and Neuroimaging Lab กล่าวว่า การนอนหลับอีกประเภทหนึ่ง ที่เรียกว่า non-REM Sleep เป็นการหลับสนิทและเป็นช่วงที่ทำให้สมองได้พักอย่างจริงจัง Non-REM Sleep ช่วยให้เราตื่นมาแล้วรู้สึกสดชื่น แต่ความสามารถของคนในการหลับลักษณะนี้เสื่อมถอยเมื่ออายุมากขึ้น แพทย์เชื่อว่ามีความสอดคล้องของการนอนหลับไม่สนิทเมื่อเราอายุมากขึ้นกับความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ มะเร็งและอัลไซเมอร์ อาจารย์วอล์คเกอร์กล่าวว่าการหลับไม่สนิทหรือหลับยากอาจเป็นความจริงที่ถูกมองข้ามในการศึกษาสาเหตุของความเสื่อมถอยของสมองและความจำ ผู้เชี่ยวชาญผู้นี้และคณะศึกษากลุ่มตัวอย่าง 2 ล้านคนและพบว่า คนที่ปัญหานอนหลับยากหรือหลับไม่สนิทมีคลื่นสมองที่แสดงถึงการทำงานของสมองที่ไปขัดจังหวะการหลับสนิทแบบ non-REM และพบการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในสมองด้วยเขากล่าวว่าการนอนน้อยส่งผลต่อการทำงานของร่างกายเกือบทุกส่วน เช่นการทำงานของหัวใจ และการเผาผลาญอาหาร และนั่นอาจช่วยอธิบายถึงสาเหตุของโรคหัวใจและเบาหวานได้ เขาและคณะนักวิจัยเผยแพร่รายงานการศึกษาชิ้นนี้ในนิตยสาร Neuron และหวังว่าข้อมูลที่ได้จะช่วยให้ผู้เชี่ยวชาญสามารถหาทางช่วยให้ผู้ที่มีอายุมากขึ้นยังคงการนอนหลับสนิทได้ ศาสตราจารย์วอล์คเกอร์กล่าวว่าวิธีที่อาจทำได้คือการใช้เคลื่อนแม่เหล็กและเคลื่อนไฟฟ้าที่อ่อนมากๆ ไปกระตุ้นการทำงานของสมองด้านการนอนหลับ สำหรับข้อแนะนำที่บุคคลทั่วไปสามารถทำได้คือการออกกำลังกาย เลี่ยงใช้คอมพิวเตอร์หรือแท็บเล็ทก่อนเข้านอน และอุณหภูมิห้องที่เย็นสามารถช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้นด้วย Voice of America 7 เม.ย.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร