Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทยาศาสตร์พบวิธีใช้หินจากก้อนอุกกาบาตช่วยเก็บกักพลังงานหมุนเวียน   

ตอนที่ก้อนอุกกาบาต Gibean พุ่งชนประเทศนามีเบียเมื่อสี่พันล้านกว่าปีที่แล้ว ก้อนอุกกาบาตก้อนนี้แตกเป็นชิ้นๆ และกระจายไปทั่วบริเวณที่กว้างใหญ่มาก ปัจจุบัน เศษของก้อนอุกกาบาตเหล่านี้ถูกนำไปใช้ผลิตเป็นสารเร่งปฏิกิริยาเคมี หรือ "คะตะลิสต์" ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง เพื่อช่วยในการเก็บกักพลังงานจากเเหล่งพลังงานสะอาด เช่น ลมหรือแสงอาทิตย์ สารเร่งปฏิกิริยาเคมีเป็นสารที่สามารถเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีให้เร็วขึ้นได้ ทีมนักวิจัยจาก Swiss Federal Institute of Technology ได้ใช้เศษหินจากนอกโลกชิ้นต่างๆ ที่ได้จากก้อนอุกกาบาตก้อนนี้ ซึ่งมีองค์ประกอบเฉพาะตัว เพราะมีทั้งนิคเกิลและโคบอลท์ ไปพัฒนาเป็นตัวอิเลคโทรดเพื่อทดสอบประสิทธิภาพ Florian Le Formal นักวิทยาศาสตร์แห่งสถาบัน Swiss Federal Institute of Technology กล่าวว่า เมื่อทีมงานนำเศษก้อนอุกกาบาตมาหลายชิ้นด้วยกัน แล้วทำการขัดเอาคราบอ็อกไซด์ออกจากเศษก้อนอุกกาบาต ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างขั้นตอนการตัดหิน หลังจากนั้นได้ทำการติดเเผ่นเเก้วลงไปเพื่อเพิ่มความเสถียรเชิงกล ก่อนจะต่อเข้ากับสายไฟ เเละหุ้มด้วยกาวชนิดพิเศษที่ไม่สร้างปฏิกิริยาทางเคมี ในขั้นตอนที่เรียกว่า "ปฏิกิริยาออกซิเดชั่นน้ำ" เป็นกระบวนการที่ทีมนักวิทยาศาสตร์ส่งกระเเสไฟฟ้าผ่านตัวอิเลคโทรดที่สร้างขึ้นจากเศษหินอุกกาบาต เพื่อแยกโมเลกุลของน้ำออกเป็นแก๊สออกซิเจน เเละเเก๊สไฮโดรเจน เเก๊สไฮโดรเจนเป็นแหล่งพลังงานสะอาดที่ดีที่สุด ที่สามารถเก็บกักเอาไว้ในเเท็งส์เพื่อนำออกมาใช้ในภายหลัง Florian Le Formal นักวิทยาศาสตร์แห่งสถาบัน Swiss Federal Institute of Technology กล่าวว่า ในการทดลองนี้ ทีมงานสังเกตุเห็นว่าแผ่นหินอุกกาบาตอิเลคโทรดมีประสิทธิภาพสูงขึ้นระหว่างกระบวนการเร่งปฏิกริยาทางเคมี เนื่องจากมีองค์ประกอบที่เร่งปฏิกิริยาเคมีที่ดีเยี่ยม ก้อนอุกกาบาตอาจจะเป็นเป็นกุญเเจสำคัญของการพัฒนาพลังงานสะอาด ที่เสียค่าใช้จ่ายถูกลง และเป็นทางเลือกที่ดีกว่าพลังงานน้ำมันเเละถ่านหิน Kevin Sivula นักวิทยาศาสตร์แห่ง Swiss Federal Institute of Technology อีกคนหนึ่ง กล่าวว่า ในอนาคตเมื่อโลกไร้เเหล่งพลังงานน้ำมันเเละถ่านหิน คนเราจำเป็นต้องพัฒนาวิธีเก็บกักพลังงานหมุนเวียนเอาไว้ เช่น หากวันไหนลมเเรง เราสามารถผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม และกักเก็บเอาไว้ใช้ในภายหลัง ทีมนักวิจัยในสวิสเซอร์เเลนด์ทีมนี้ชี้ว่า อาจมีวัสดุธรรมชาติอีกมากมายหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีได้เร็วขึ้น เช่นเดียวกับก้อนหินอุกกาบาต Gibean Voice of America 5.04.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร