Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แมลงสาบ' ขยายพันธุ์เอง ไม่ง้อตัวผู้  

ผลการศึกษาชิ้นใหม่ชี้ว่า แมลงสาบตัวเมียสามารถผลิตลูกหลานได้จำนวนมาก โดยไม่ต้องพึ่งพาการผสมพันธุ์ร่วมกับตัวผู้เลย นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮอกไกโดของญี่ปุ่น ศึกษาแมลงสาบตัวเมียที่ไม่เคยผสมพันธุ์มาก่อน ที่อาศัยอยู่ร่วมกันกลุ่มหนึ่งจำนวน 15 ตัว เป็นเวลากว่า 3 ปีตั้งแต่ธ.ค. 2556 พบว่า อาณาจักรของมันเติบโตอย่างรวดเร็วจนมีจำนวนราว 1,000 ตัว ทุกตัวล้วนเป็นตัวเมียทั้งหมด นายฮิโรชิ นิชิโนะ นักกีฏวิทยา จากมหาวิทยาลัยฮอกไกโดของญี่ปุ่น ระบุว่า การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศพบเห็นได้มากกว่าที่คาดไว้ โดยเฉพาะแมลงสาบอเมริกันสีน้ำตาลแดง Periplaneta americana ที่แพร่กระจายอยู่ทั่วโลก อีกทั้งตัวเมียจะดูวุ่นวายหากพวกมันอาศัยอยู่ด้วยกัน 3-5 ตัว บางทีพวกมันอาจสัมผัสได้ว่า ลูกหลานจะอยู่ได้อย่างปลอดภัยเมื่ออยู่กับแมลงสาบตัวอื่น หลังจากที่แมลงสาบตัวเมียออกไข่ครั้งแรกซึ่งมีอยู่ราว 16 ใบ มันจะใช้เวลา 18 วันในผลิตไข่ครั้งต่อไป เมื่อเทียบกับช่วงเวลาที่อยู่เพียงลำพังซึ่งใช้เวลา 27 วัน การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศเป็นวิธีหลักในแมลงสาบไม่กี่ชนิด โดยเฉพาะแมลงสาบทั่วไปอย่างสายพันธุ์อเมริกันและเยอรมัน นักวิทยาศาสตร์จึงมองว่าเป็นทางเลือกสุดท้าย หากตัวเมียไม่มีตัวผู้เหลืออยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม อาณาจักรแมลงสาบยังเป็นภัยคุกคามต่อสาธารณสุขเนื่องจากมันมีบทบาทในการเป็นพาหะนำโรค นายนิชิโนะ ยังบอกว่า กลยุทธ์การป้องกันการแพร่กระจายบางวิธีต้องพึ่งพาการล่อแมลงสาบตัวผู้ไปยังที่ที่หนึ่ง โดยใช้ฮอร์โมนแมลงสาบตัวเมียที่สังเคราะห์ขึ้น เพื่อให้พวกมันตายทั้งคู่ ทว่าผลการวิจัยชี้ว่า วิธีนี้อาจใช้ไม่ได้ผลเพราะตัวเมียสืบพันธุ์ได้โดยไม่ต้องมีตัวผู้ ทีมงานจึงมุ่งไปยังเป้าหมายสุดท้ายคือ มองหาวิธีฆ่าแมลงสาบที่ง่ายกว่านี้ แมลงสาบมีชีวิตรอดมา 300 ล้านปีตั้งแต่ยุคไดโนเสาร์เป็นต้นมา โดยที่รูปร่างของมันแทบไม่เปลี่ยนเลย และผมต้องการจะเข้าใจให้ถ่องแท้กว่านี้ ว่าทำไมพวกมันมีทักษะในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เป็นเลิศได้ขนาดนี้” นายนิชิโนะ กล่าว คมชัดลึก ออนไลน์ 12 เม.ย.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร