Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยแนะ "ยาปฏิชีวนะราคาถูก" อาจช่วยบำบัดโรคเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนใจร้ายเเรง (PTSD)   

คนที่ประสบกับเหตุการณ์สะเทือนใจร้ายเเรง ไม่ว่าจะเป็นสงคราม ภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือการทำร้ายทางเพศ มักตกอยู่ในสภาพหวาดกลัวหรือวิตกรุนแรง เพราะความทรงจำต่อเหตุการณ์หวนกลับมารบกวนจิตใจ ซึ่งทางการแพทย์เรียกว่า "โรคเครียด PTSD" เชี่ยวชาญชี้ว่า จิตวิทยาบำบัดมักเป็นวิธีที่แพทย์เลือกใช้ในการช่วยลดอาการของโรคลง เเต่การบำบัดนี้ต้องใช้เวลานานและเสียค่าใช้จ่ายสูง ทีมนักวิทยาศาสตร์ในยุโรปค้นพบว่า ยาปฏิชีวนะที่เรียกว่า "ด็อกซิไซคลิน" ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะที่ใช้ในการบำบัดการติดเชื้อเเบคทีเรีย ซึ่งค้นพบนานเเล้วและราคาถูก อาจช่วยบำบัดโรคเครียดแบบ PTSD ได้ ผลการศึกษาหลายชิ้นพบว่า ในการสร้างความทรงจำ สมองของคนเราต้องใช้โปรตีนหลายชนิดที่อยู่ภายนอกเซลล์ประสาทนิวรอน เรียกว่า "matrix enzymes" ซึ่งเป็นโปรตีนที่พบได้ทั่วร่างกายคนเรา และความบกพร่องของการทำงานของโปรตีนชนิดนี้ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งมะเร็ง ยาปฏิชีวนะด็อกซิไซคลินใช้บำบัดการทำงานที่บกพร่องของโปรตีนเหล่านี้ ด้วยการสกัดกั้นไม่ให้เอ็นไซม์เหล่านี้ทำงาน ทีมนักวิจัยเกิดความสงสัยว่า ยาปฏิชีวนะชนิดนี้อาจมีประสิทธิภาพในการแทรกเเซงการทำงานที่ไวเกินไปของเอ็นไซม์ในสมองเหล่านี้ ซึ่งมีผลให้ระบบสร้างความทรงจำทางลบอ่อนเเอลง Dr. Dominik Bach นักวิจัยด้านจิตวิทยาคลินิก เเห่งมหาวิทยาลัยซูริกเเละสถาบันประสาทวิทยาที่มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน กล่าวว่า "สมองมีระบบปรับความจำระยะสั้นให้กลายเป็นความจำระยะยาว" Dr. Bach ได้ทำการทดลองหลายครั้ง โดยใช้ยาปฏิชีวนะด็อกซิไซคลินในการแทรกเเซงการสร้างความทรงจำระยะยาว Dr. Dominik Bach กล่าวว่า "ตนเชื่อว่าหากยาปฏิชีวนะชนิดนี้ใช้ได้ผลในการบำบัดโรคเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนในร้ายเเรง ยาชนิดนี้จะกลายเป็นวิธีบำบัดที่ง่ายขึ้นกว่าจิตวิทยาบำบัด และใช้เวลาสั้นกว่า แต่ก็ได้ผลดีเช่นกัน" Dr. Bach มีส่วนร่วมในการศึกษาคนที่มีสุขภาพเเข็งเเรงดี 76 คน โดยครึ่งหนึ่งของผู้เข้าร่วมการทดลองได้รับยาปฏิชีวนะชนิดนี้ ในขณะที่อีกครึ่งหนึ่งได้รับยาปฏิชีวนะหลอก ในการทดลอง ผู้เข้าร่วมการศึกษาทั้งสองกลุ่มจะต้องมองที่สีเเดงหรือสีน้ำเงินที่ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ อาสาสมัครเเต่ละคนจะถูกช็อตเบาๆ ด้วยกระเเสไฟฟ้าแบบอ่อนเมื่อมองไปที่สีนั้นๆ ทำให้อาสาสมัครจดจำความเจ็บปวดกับสีที่ตนมองเห็นตอนถูกกระเเสไฟฟ้าอ่อนๆ ช็อต หนึ่งสัปดาห์ต่อมา อาสาสมัครทั้งหมดกลับมาที่ห้องทดลองอีกครั้ง เเต่เเทนที่จะถูกช็อตด้วยกระเเสไฟฟ้าระดับต่ำ นักวิจัยใช้เสียงดังแทน โดยยังให้มองไปที่สีเดียวกับในการทดลองครั้งเเรก Dr. Bach กล่าวว่า "อาสาสมัครคนที่ได้รับยาปฏิชีวนะหลอกแสดงอาการที่บ่งบอกว่า ทันที่ที่พวกเขามองเห็นสีที่ได้มองในการทดลองครั้งเเรก พวกเขาคาดว่าจะกำลังถูกช็อตด้วยกระเเสไฟฟ้าอ่อน และตอบสนองด้วยการกระพริบตาถี่ขึ้นเล็กน้อยกว่ากลุ่มอาสาสมัครที่ใช้ยาปฏิชีวนะด็อกซิไซคลิน" ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า การกระพริบตาเป็นการตอบสนองเเบบอัตโนมัติของคนเราต่อภัยคุกคามกระทันหัน การกระพริบตาถี่ขึ้นซึ่งเกิดกับอาสาสมัครกลุ่มที่ได้รับยาปฏิชีวนะหลอก เเสดงว่าพวกเขาตกใจง่ายขึ้นเเละหวาดกลัวต่อเสียงที่ดังมากกว่ากลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาปฏิชีวนะด็อกซิไซคลิน โดยคนที่ได้รับยาจริงจะเเสดงการตอบสนองด้วยความกลัวต่อเสียงที่ดังน้อยลงถึง 60 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับยาหลอก ผลการศึกษานี้ตีพิมพ์ในวารสาร Molecular Psychiatry ในขั้นต่อไป Dr. Bach วางเเผนที่จะทดลองเเบบเดียวกันนี้อีกครั้งในกลุ่มอาสาสมัครที่เเข็งเเรงดี เพื่อดูว่าสามารถทำให้คนปกติตกใจกลัวจากความทรงจำที่มีอยู่เเล้วได้หรือไม่ และหากได้ผลการทดลองเเบบเดียวกัน ทีมงานวิจัยจะพยายามทดลองใช้ยาปฏิชีวนะด็อกซิไซคลินในการบำบัดผู้ป่วยโรคเครียด PTSD ที่หวาดกลัวเพราะได้รับผลกระทบจากความทรงจำต่อเหตุการณ์ที่สะเทือนใจอย่างร้ายเเรงต่อไป Voice of America 18 เม.ย.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร