Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

พัฒนาเซนเซอร์แบบสวมได้ช่วยตรวจโรคจาก “เหงื่อ”  

นักวิจัยพัฒนาเซนเซอร์และหน่วยประมวลผลขนาดจิ๋วที่แนบชิดกับผิวหนัง สำหรับวิเคราะห์เหงื่อเพื่อตรวจโรค รวมถึงติดตามผลการใช้ยา หากทำสำเร็จจะได้เซนเซอร์ที่ช่วยประเมินได้ว่าการใช้ยาในผู้ป่วยแต่ละรายตอบสนองได้ดีแค่ไหน เซนเซอร์ตรวจเหงื่อแบบสวมใส่ได้และมีความแม่นยำสูงนี้ เป็นผลงานที่เอเอฟพีรายงานว่าอาจช่วยยกระดับการวินิจฉัยและการบำบัดรักษโรคซิสติกไฟโบรซิส (cystic fibrosis) โรคเบาหวาน รวมถึงปัญหาสุขภาพอื่นๆ โดยเซนเซอร์ตรวจเหงื่อรุ่นใหม่นี้ อาศัยเพียงการติดตามความชื้นของเหงื่อ และไม่จำเป็นต้องให้ผู้ป่วยนั่งนิ่งๆ นานถึง 30 นาทีระหว่างตรวจวัด ถือเป็นก้าวกระโดด” คาร์ลอส มิลลา (Carlos Milla) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านกุมารแพทย์จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) และเป็นผู้ร่วมวิจัยในพัฒนาเซนเซอร์นี้ได้กล่าวไว้ สำหรับชุดตรวจแบบสวมใส่ได้นี้ได้รับการออกแบบโดยความร่วมมือกับทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในเบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley) ซึ่งประกอบด้วยเซนเซอร์แบบยืดหยุ่น และไมโครโปรเซสเซอร์ที่แนบกับผิวหนังและกระตุ้นต่อมเหงื่อ เซนเซอร์จะตรวจวัดโมเลกุลและไอออนต่างๆ ที่ปรากฏในทันที โดยเหงื่อยิ่งมีคลอไรด์มากจะทำให้เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้าบริเวณพื้นผิวของเซนเซอร์มากขึ้นด้วย และปริมาณคลอไรด์สูงนี้อาจจะบ่งชี้ถึงโรคซิสติกไฟโบรซิส ขณะที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงนั้นเป็นสัญญาณของโรคเบาหวาน จากรายงานที่ระบุในวารสารวิชาการโพรซีดิงส์ออฟเดอะเนชันนัลอะคาเดมีออฟไซน์ส (Proceedings of the National Academy of Sciences) นั้น เซนเซอร์จะส่งผลเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเพื่อใช้วิเคราะห์และวินิจฉัย นอกจากนี้ นักวิจัยยังคาดหวังด้วยว่า ในวันข้างหน้าเซนเซอร์นี้อาจช่วยในการพัฒนายาและยาเฉพาะบุคคลสำหรับโรคซิสติกไฟโบรซิส ซึ่งเป็นโรคทางพันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของการเกิดเมืกในปอดและตับอ่อน ซึ่งยากต่อการรักษา แซม อีมามิเนจาด (Sam Emaminejad) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในลอสแองเจลลิส (University of California, Los Angeles: UCLA) กล่าวว่า ยาสำหรับรักษาโรคซิสติกไฟโบรซิสนั้นได้ผลในผู้ป่วยไม่กี่ราย พร้อมทั้งยกตัวอย่างให้เห็นภาพเมื่อให้ผู้ป่วยสวมใส่เซนเซอร์ตรวจวัดเหงื่อระหว่างการทดสอบยาระดับคลีนิค เราก็จะเห็นได้ชัดขึ้นว่าระดับไอออนคอลไรด์ของผู้ป่วยนั้นขึ้นและลงอย่างไรเมื่อตอบสนองต่อยารักษา อย่างไรก็ตาม ยังชจำเป็นต้องศึกษาวิจัยอีกมากเพื่อหาคำตอบว่า เซนเซอร์ตรวจวัดเหงื่อแบบสวมใส่ได้นี้สามารถทำงานได้อย่างคงที่จากวันหนึ่งถึงอีกวันหรือไม่ เพราะองค์ประกอบของเหงื่อในแต่ละคนนั้นเปลี่ยนแปลงได้ถี่ขึ้นอยู่กับอาหารและปัจจัยอื่นๆ นอกจากนี้นักวิจัยยังคาดหวังที่จะเรียนรู้เพิ่มเติมว่า โมเลกุลใดในเหงื่อนั้นสามารถใช้สร้างขึ้นเป็นแผนที่และอาจจะให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากที่สุด ผู้จัดการออนไลน์ 18 เม.ย.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร