Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่เฉียดโลก สดร.ยันไม่มีผลกระทบ  

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เผยดาวเคราะห์น้อย 2014 JO25 โคจรเฉียดโลกใกล้ที่สุดในช่วงค่ำของวันที่ 19 เมษายน 2560 (ตามเวลาในประเทศไทย) ยันไม่พุ่งชนโลกและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับมนุษย์ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เปิดเผยว่า  วันที่ 19 เมษายน 2560 เวลา 19:24 น. ตามเวลาในประเทศไทย ดาวเคราะห์น้อย 2014 JO25 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 650 เมตร จะโคจรเข้าใกล้โลกมากที่สุดที่ระยะทาง 1.8 ล้านกิโลเมตร หรือประมาณ 4.6 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ดาวเคราะห์น้อย 2014 JO25  ถูกค้นพบในเดือนพฤษภาคม 2557 โดยนักดาราศาสตร์ของหอดูดาวแคทาลินา สกาย เซอร์เวย์ เมืองทูซอน รัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา จากการตรวจสอบวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ พบว่าครั้งนี้เป็นการโคจรเข้าใกล้โลกที่สุดในรอบ 400 ปี และจะไม่เกิดขึ้นอีกอย่างน้อยในรอบ 500 ปี และเนื่องจากเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ นักดาราศาสตร์คาดการณ์ว่า มีขนาดใหญ่กว่ากรณีอุกกาบาตตกที่เมืองเชลยาบินสก์ ประเทศรัสเซีย ประมาณ 60 เท่า นักดาราศาสตร์ทั่วโลกจึงเฝ้าจับตา และติดตามการโคจรของมันอย่างใกล้ชิด จากการคำนวณอย่างละเอียดทำให้นักดาราศาสตร์เชื่อมั่นว่า ดาวเคราะห์น้อย 2014 JO25 จะโคจรเฉียดโลกไป เช่นเดียวกับกับดาวเคราะห์น้อยดวงอื่น ๆ ที่โคจรเฉียดโลก โดยไม่เกิดผลกระทบใด ๆ ต่อโลกและมนุษย์ แต่สำหรับนักดาราศาสตร์แล้ว การมาเยือนในระยะใกล้ของดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่เช่นนี้ นับเป็นโอกาสดียิ่งที่จะสังเกตการณ์โดยใช้เรดาร์เพื่อศึกษาขนาดและรูปร่างของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ ดาวเคราะห์น้อย 2014 JO25 ขณะโคจรใกล้โลกที่สุด ระหว่างวันที่ 19 - 20 เมษายน 2560 จะมีความสว่างมาก คาดว่าความสว่างปรากฏประมาณแมกนิจูด 10-11 ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่สามารถมองเห็นผ่านกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 8 นิ้วขึ้นไป ในช่วงหัวค่ำของวันที่ 19 เมษายน จะเริ่มสังเกตเห็นได้บริเวณกลุ่มดาวมังกร ตั้งแต่เวลาประมาณ 20:00 น. เป็นต้นไป เหตุการณ์ดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็ก (ต่ำกว่า 10 เมตร) โคจรเข้าใกล้โลกมักเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เช่น ในเดือนมีนาคม 2560 ดาวเคราะห์น้อย 2017 FN1 โคจรเฉียดโลกที่ระยะทางประมาณ 51,000 กิโลเมตร หรือประมาณ 0.17 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ แต่เหตุการณ์ที่มีดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ (เส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 100 เมตร) โคจรเข้ามาใกล้โลกไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนัก ครั้งล่าสุดเมื่อ 13 ปีก่อน ในเดือนกันยายน 2547 ดาวเคราะห์น้อย 4179 Toutatis  โคจรเข้าใกล้โลกที่ระยะประมาณ 1.2 ล้านกิโลเมตร หรือประมาณ 4 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์ ดร.ศรัณย์ กล่าวว่า  ในส่วนของประเทศไทย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จะใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาด 0.7 เมตร ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เฝ้าติดตามตำแหน่งการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้อย่างใกล้ชิด และถึงแม้ว่าดาวเคราะห์น้อย 2014 JO25 จะเป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่โคจรเข้ามาเฉียดใกล้โลก แต่ขอยืนยันว่าจะไม่มีโอกาสชนโลก และไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อมนุษย์อย่างแน่นอน เดลินิวส์ออนไลน์ 19.04.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร