Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

'ใยเเมงมุมเทียมต้นทุนต่ำ' วัสดุใหม่แห่งอนาคตทางการเเพทย์เเละอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม  

เส้นใยไหมของเเมงมุมมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโดยเฉลี่ยเท่ากับ 0.003 ของหนึ่งมิลลิเมตร ซึ่งมีนักวิทยาศาสตร์เปรียบเทียบไว้ว่า เส้นไหมใยเเมงมุมที่มีขนาดความกว้างเท่ากับเเท่งดินสอ เหนียวและเเข็งเเรงพอที่จะหยุดเครื่องบินให้จอดนิ่งได้" คุณสมบัติที่ว่านี้อาจเป็นจริงก็ได้ เเต่กว่าเราจะปั่นให้ได้เส้นไหมใยเเมงมุมขนาดความกว้างเท่าเเท่งดินสอ ก็คงต้องใช้เวลานานหลายปี หากใช้ไหมใยแมงมุมจากเเมงมุมธรรมชาติ ทีมนักวิทยาศาสตร์หลายทีมพยายามหาทางผลิตเส้นไหมใยเเมงมุมเทียมกันมานานหลายปีแล้ว และได้คิดค้นกันขึ้นมาหลายวิธีด้วยกัน แต่วิธีที่ค้นพบโดยทีมนักวิทยาศาสตร์ในสวีเดนล่าสุดอาจจะเป็นวิธีที่ดีที่สุด เเมงมุมมีต่อมใต้ท้องจำนวนมากที่ทำหน้าที่ผลิตเส้นใย และเเต่ละต่อมผลิตเส้นใยที่มีคุณภาพแตกต่างกันออกไป Anna Rising นักวิจัยในสวีเดน กล่าวว่าทางทีมงานได้ตัดเอาต่อมผลิตเส้นใยต่อมต่างๆ จากตัวเเมงมุม แล้วใช้ขั้วไฟฟ้าแบบเจาะจงไอออน (ion-selective microelectrodes) ซึ่งเป็นอิเลคโทรดขนาดจิ๋ว เพื่อใช้ตรวจดูสภาพในต่อมผลิตใยเเมงมุมต่อมต่างๆ Marlene Anderson นักวิจัยอีกคนหนึ่ง กล่าวว่าทีมงานได้ปั่นโปรตีนจากต่อมผลิตใยแมงมุมลงไปในสารเคมีผสมที่มีความเป็นกรดสูง เเละเมื่อปล่อยโปรตีนลงไปในสารผสมนี้ โปรตีนจะกลายเป็นเส้นไหมใยเเมงมุมทันที การผลิตใยเเมงมุมวิธีนี้ดูง่ายดายมาก นอกจากนี้ยังเสียค่าใช้จ่ายน้อยและมีคุณภาพดีเหมือนกับใยเเมงมุมธรรมชาติ นักวิจัยกล่าวว่า หากขยายการผลิตเส้นไหมใยเเมงมุมเทียมให้เป็นการผลิตขนาดใหญ่ขึ้น จะมีค่าต้นทุนการผลิตต่ำ เพราะสารส่วนผสมที่ใช้ในการปั่นเส้นไหมใยแมงมุมเทียมนี้มีราคาไม่เเพง ทีมงานได้ผลิตเส้นไหมใยเเมงมุมเทียมได้เเล้วยาวกว่า 1 กิโลเมตร และทีมงานวิจัยในสวีเดนทีมนี้บอกว่า "เส้นไหมใยเเมงมุมเทียมที่ผลิตได้นี้เหมาะมากในการนำไปใช้เป็นวัสดุโครงเเบบ ที่เเพทย์ใช้ปลูกเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่สามารถนำไปปลูกถ่ายในร่างกายคนเราได้" ทีมงานวิจัยนี้ยังไม่สิ้นสุดการวิจัย ทีมงานกำลังหาทางพัฒนาให้เส้นไหมใยเเมงมุมเทียมมีความเหนียวและเเข็งเเรงเท่าเทียมกับในเเมงมุมธรรมชาติ เเต่ไม่ว่าผลงานของพวกเขาจะออกมาเช่นไร เป็นไปได้ว่าเสื้อผ้าเครื่องนุ่มห่มในอนาคตน่าจะผลิตด้วยเส้นไหมใยเเมงมุมเทียม Voice of America 22 เม.ย.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร