Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ทึ่ง! นักวิทยาศาสตร์พบวิธีใช้ 'ภูมิต้านทานบำบัด' ควบคุมเชื้อเอชไอวีในลิง  

ทีมนักวิทยาศาสตร์แห่งสถาบันโรคภูมิแพ้และโรคติดเชื้อแห่งชาติ (National Institute of Allergy and Infectious Diseases) ของสถาบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐฯ ที่ตั้งอยู่ชานกรุงวอชิงตัน ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Rockefeller ในนครนิวยอร์ก ทดลองบำบัดลิงที่ติดเชื้อเอชไอวีที่แพร่ระบาดในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ด้วยการใช้แอนติบอดี้ของคนที่มีฤทธิ์แรงสองชนิดภายหลังจากการติดเชื้อ ทีมนักวิจัยได้ฉีดแอนติบอดี้ที่มีฤทธิ์ในการควบคุมเชื้อเอชไอวีได้หลายชนิด เเก่ลิง 13 ตัวที่ติดเชื้อ SHIV ชนิดที่ติดต่อในลิง โดยลิงได้รับการฉีดแอนติบอดี้ทั้งหมดสามเข็มด้วยกัน ในช่วงเวลา 2 สัปดาห์ แอนติบอดี้ของคนที่เรียกว่า 3BNC117 และ 10-1074 ช่วยให้ลิงกำจัดเชื้อไวรัสเอชไอวีได้สำเร็จ โดยเข้าไปเกาะติดกับตัวเชื้อไวรัส SHIV คนละจุดกัน ทำหน้าที่กดเชื้อไวรัสไม่ให้ออกฤทธิ์ ก่อนจะช่วยให้ระบบภูมิต้านทานกำจัดไวรัสออกไปจากร่างกายลิง การบำบัดลิงด้วยแอนติบอดี้จากคน ช่วยกดเชื้อไวรัส SHIV ให้อยู่ในระดับเกือบเท่ากับหรือต่ำกว่าระดับที่สามารถตรวจพบได้ด้วยการตรวจเลือดหาเชื้อไวรัสนานถึง 6 เดือน ผลการบำบัดนี้มีประสิทธิภาพดีจนกระทั่งแอนติบอดี้ทั้งสองชนิดหมดไปจากร่างกายของลิง หลังจากนั้น เชื้อไวรัสจะกลับมาเพิ่มปริมาณขึ้นอีกในลิงทดลองเกือบทุกตัว ยกเว้นลิงหนึ่งตัว แต่อีก 5 ถึง 22 เดือนต่อมา ทีมนักวิจัยพบว่าระบบภูมิต้านทานของลิง 6 ตัวสามารถกลับไปควบคุมเชื้อไวรัสได้อีก ทำให้ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดลดต่ำลงจนตรวจไม่พบ เเละเกิดขึ้นอยู่นานระหว่าง 5 – 13 เดือน ทีมนักวิจัยพบว่า ระบบภูมิต้านทานของลิงอีก 4 ตัวไม่กลับคืนสู่สภาพที่สามารถควบคุมเชื้อไวรัสได้อย่างสิ้นเชิง แต่สามารถควบคุมให้ไวรัส SHIV ในกระเเสเลือดอยู่ในระดับต่ำ และลิงทั้ง 4 ตัวนี้ยังรักษาระดับปริมาณเซลล์ภูมิต้านทานในเลือดเอาไว้ในระดับที่ดีนาน 2 – 3 ปีหลังจากติดเชื้อ โดยรวมทั้งหมดเเล้ว ลิงทดลอง 10 ตัวจากทั้งหมด 14 ตัว ได้รับผลดีในระยะยาวจากการบำบัดระบบภูมิต้านทานนี้ ในการทดลองขั้นต่อไป ทีมนักวิทยาศาสตร์จะทดลองฉีดแอนติบอดี้ของคนทั้งสองชนิดนี้เเก่ลิง เป็นเวลา 6 สัปดาห์หลังจากติดเชื้อ SHIV ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ใกล้เคียงกับระยะเวลาที่คนที่ติดเชื้อจะตรวจพบเชื้อในร่างกาย ปัจจุบัน มียาบำบัดเอชไอวีที่ติดต่อในคนมากกว่า 25 ชนิดด้วยกัน แต่ผู้ติดเชื้อต้องรับประทานยาทุกวันติดต่อกัน เพื่อควบคุมปริมาณเชื้อไวรัสเอชไอวีในกระเเสเลือดให้อยู่ในระดับต่ำ และไม่ให้กลับมาเพิ่มปริมาณมากขึ้นอีกหากยุติการบำบัด หากภูมิต้านทานบำบัดเชื้อไวรัสเอชไอวีในลิงประสบความสำเร็จ การบำบัดนี้อาจจะมีศักยภาพในการกดเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคเอดส์ได้เป็นระยะเวลานาน โดยที่ผู้ติดเชื้อไม่จำเป็นต้องกินยาต้านไวรัสเอชไอวีที่มีผลข้างเคียงต่อร่างกายสูงอีกต่อไป Voice of America 24.04.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร