Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ตัวด้วงจิ๋ว ‘โบราณ’ ในอำพัน  

เมื่อไม่นานมานี้ นักวิทยาศาสตร์ค้นพบตัวด้วงจิ๋วคล้ายแมงดาทะเลที่ติดกับอยู่ในอำพันตั้งแต่ยุคครีเทเชียสเมื่อราว 99 ล้านปีก่อน ด้วงชนิดนี้จัดอยู่ในประเภทเทอร์มิโตฟิลิส หรือพวกที่ชอบปลวก ซึ่งเป็นสัตว์ที่มักขุดโพรงจอมปลวกเพื่ออาศัยอยู่กับแมลงชนิดต่าง ๆ ทั้งยังได้รับประโยชน์จากแหล่งอาหารด้วย ก่อนที่จะพบซากดึกดำบรรพ์ฝังในอำพัน สัตว์จำพวกเทอร์มิโตฟิลิสที่เก่าแก่ที่สุดมาจากสมัย 19 ล้านปีก่อน อีกทั้งแมลงกลุ่มชนิดพิเศษนี้เคยบุกจอมปลวกและอาศัยร่วมกับอาณาจักรแมลงอื่น ๆ มานานกว่าที่คาดไว้ ด้วงที่ค้นพบมีชื่อว่า ครีโตไตรคอปเซเนียส เบอร์มิติคุส (Cretotrichopsenius burmiticus) โดยชื่อสกุลมาจากชื่อของยุคครีเทเชียส และด้วงสกุล Trichopsenius ส่วนคำว่าเบอร์มิติคุส หมายถึงอำพันที่ห่อหุ้มซากดึกดำบรรพ์ที่เรียกว่า เบอร์ไมต์ พบในเหมืองแร่แห่งหนึ่งของเมียนมา (หรือพม่าเดิม) ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่สถาบันธรณีวิทยาและบรรพชีวินวิทยาศาสตร์หนานจิง ของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติจีน ณ กรุงปักกิ่ง ด้วงครีโตไตรคอปเซเนียส เบอร์มิติคุส มีความยาวราว 0.7 มิลลิเมตร หัวทรงรีกว้าง มีหนามบริเวณขาทั้งสองข้าง และมีลำตัวสีน้ำตาลเป็นหยักพร้อมปลายขนเล็ก ๆ หนาแน่น ลักษณะบางอย่างบนลำตัวชี้ให้เห็นว่า ด้วงชนิดนี้เป็นชนิดใหม่ แม้โดยรวมจะดูคล้ายด้วงก้นกระดกปัจจุบันที่อาศัยร่วมกับบรรดาปลวก งานวิจัยที่เผยแพร่ในวารสารซูแทกซา เมื่อปี 2554 ระบุว่า ด้วงตระกูลสตาฟีลินิดี (Staphylinidae) มีขนาดหลากหลายแบบ หรือที่เรียกว่า ด้วงก้นกระดก มีอยู่ราว 3,500 สกุล และ 56,000 ชนิดโดยประมาณ นักวิทยาศาสตร์คาดว่า ปลวกน่าจะถือกำเนิดขึ้นในยุคจูราสสิก (199.6 ล้าน-145.5 ล้านปีก่อน) โดยซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดมีอายุ 135 ล้านปี การสืบเสาะความสัมพันธ์ระหว่างปลวกโบราณและสัตว์อิงอาศัยอย่างด้วงก้นกระดกนับว่าท้าทาย เพราะหลักฐานใหม่บ่งบอกว่า ด้วงก้นกระดกจับคู่กับปลวกชนิดต่าง ๆ เมื่อ 80 ล้านปีก่อน ยาวนานกว่าที่คิดไว้ ชี้ว่า ด้วงชนิดต่าง ๆ มีความเชี่ยวชาญในการรุกรานที่อยู่อาศัยของปลวกอยู่ในสายเลือดอยู่แล้ว “ซากดึกดำบรรพ์ยังแสดงให้เห็นถึงระบบนิเวศวิทยาอันอุดมสมบูรณ์ของสังคมแมลงยุคครีเทเชียส รวมถึงวิวัฒนาการร่วมระหว่างปลวกอันยาวนาน ทั้งยังเป็นครั้งแรกของสังคมแมลงทั้งปวงและกลุ่มสัตว์มีปล้องอีกหลายชนิด” ผลการศึกษาดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ในวารสาร “เคอร์เรนต์ ไบโอโลจี” เมื่อวันที่ 13 เม.ย.60 ที่ผ่านมา จากการสนับสนุนของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติจีน ร่วมกับมูลนิธิวิทยาศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติ มูลนิธิวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมณฑลเจียงซู และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คมชัดลึกออนไลน์ 26.04.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร