Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

4 ข้อแนะนำตั้งชื่อเว็บไซต์ให้น่าจดจำนำไปสู่ยอดขาย  

ปัจจุบันประเทศไทยมีโดเมนเนมที่จดทะเบียนอยู่มากกว่า 230,000 ชื่อ แบ่งเป็นโดเมนเนมที่ใช้นามสกุลแบบทั่วไป (generic TLDs) เช่น .com .org ประมาณ 170,000 ชื่อ และนามสกุล .th (coutry code TLDs) ประมาณ 63,000 ชื่อ โลกออนไลน์เสมือนเป็นพื้นที่ขนาดมหึมา ที่รวบรวมเว็บไซต์อยู่เป็นจำนวนมากมายหลายล้านเว็บ สิ่งสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งที่จะทำให้ธุรกิจของคุณมีความต่างเเละโดดเด่นเหนือคู่เเข่ง คือ การคิดค้นชื่อเว็บไซต์ให้มีความเฉพาะ นั่นจะช่วยทำให้ผู้เข้าชมสามารถจดจำ และนำไปสู่การเพิ่มยอดขายได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังเป็นการช่วยสร้างเเบรนด์ให้กับธุรกิจของคุณตั้งเเต่จุดเริ่มต้น ในแง่มุมของผู้ประกอบการธุรกิจ การมีชื่อเว็บไซต์ที่ดีและน่าจดจำ จะช่วยนำพาผู้ชม และกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ เข้าไปเจอเนื้อหาสาระ รวมถึงสินค้าบนเว็บไซต์ของคุณได้อย่างง่ายดาย เพียงคุณทำตามคำแนะนำเหล่านี้ 1. ใช้ชื่อที่เป็น แบรนด์เนม ผสมคำที่บ่งบอกลักษณะธุรกิจ ตัวอย่างเช่น JojoCamera.com หรือ Jojo.camera ประกอบไปด้วยคำที่เป็น แบรนด์เนม Jojo ผสมกับคำที่บ่งบอกลักษณะธุรกิจ Camera องค์ประกอบทั้งสองส่วน จะช่วยแสดงเอกลักษณ์ สร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง ป้องกันการลอกเลียนแบบ และช่วยสื่อสารให้ผู้บริโภคทราบว่าทำธุรกิจด้านใด ซึ่งเป็นประโยชน์มากกับธุรกิจ SMEs ที่ชื่อแบรนด์ยังไม่เป็นที่รู้จัก 2. ตั้งชื่อให้สั้น เพื่อจดจำง่าย หากสามารถตั้งชื่อโดเมนเนมให้สั้น จะทำให้ผู้เข้าชมเว็บไซต์จดจำได้ง่าย รวมทั้งทำให้สะดวกเวลาพิมพ์ชื่อโดเมนเนมเพื่อเข้าเว็บโดยตรง ในตลาดซื้อขายโดเมนเนมมักจะมีการนำเสนอขาย โดเมนเนมที่สั้นๆ ในราคาที่สูง 3. ไม่เลียนแบบเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียง พราะมีโอกาสโดนฟ้องร้องจากผู้ที่เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า เนื่องจากทำธุรกิจเดียวกับเว็บไซต์หลัก นอกจากนั้น ภาพลักษณ์ของโดเมนเนมที่เลียนแบบยังขาดความน่าเชื่อถืออีกด้วย 4. ระวังเรื่องการใช้สัญลักษณ์ " - " (Hyphen) และการเติม S หากต้องการจดชื่อที่มี S หรือใช้สัญลักษณ์ " - " ดังกล่าว ต้องพิจารณาว่า เว็บไซต์อื่นที่จดทะเบียนไปแล้วและไม่มีสัญลักษณ์ทำธุรกิจเดียวกันกับเราหรือไม่ ถ้าใช่ มีโอกาสที่จะสร้างความสับสนแก่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ได้ ทางออกที่ดีคือ จดโดเมนเนมทั้งที่มีและไม่มี s ไว้ด้วย นอกจากการตั้งชื่อโดเมนให้จำง่ายจะส่งผลดีกับเว็บไซต์และธุรกิจบนโลกออนไลน์แล้ว ยังมีอีกหนึ่งเทรนด์ที่กำลังมาแรงก็คือ นามสกุลโดเมนเว็บไซต์ใหม่ล่าสุด ที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการได้ใช้ชื่อโดเมนที่ต้องการควบคู่ไปกับนามสกุลโดเมนที่เหมาะสมกับประเภทธุรกิจ เช่น www.readyplanet.training ซึ่งง่ายต่อการจดจำแบรนด์ และมีส่วนช่วยเพิ่มโอกาสที่จะทำให้เว็บไซต์ติดอันดับใน Search Engine ได้ดีขึ้นอีกด้วย ที่มา : www.smethailandclub.com ผู้จัดการออนไลน์ 27 เม.ย.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร