Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สธ.สรุปชัด "น้ำบ่อสีดำศักดิ์สิทธิ์" ที่แท้ “น้ำเสีย”   

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผยผลตรวจวิเคราะห์น้ำในบ่อน้ำสีดำที่ อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส เข้าข่าย เป็น“น้ำเสีย” ที่ต้องผ่านการบำบัด ไม่แนะนำให้ดื่ม หรือใช้น้ำ เพราะมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอาจทำให้เกิดโรคได้ พบสารเหล็กสูง 43 เท่าจากค่ามาตรฐาน วันนี้ (4พ.ค.2560) นพ.สุขุม กาญจนพิมาย อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวว่า หลังจาก เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุข ลงพื้นที่เก็บตัวอย่างน้ำบ่อสีดำ ในสวนยางพารา อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ที่ชาวบ้านนำมาดื่มและชำระร่างกายเพราะเชื่อว่ารักษาโรคได้ โดยเก็บตัวอย่างวันที่ วิเคราะห์คุณภาพมาตรฐานน้ำดื่ม และตรวจสอบตะกอนสีดำที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา เมื่อวันที่ 19 และ 24 เม.ย.นี้ ผลการทดสอบคุณภาพน้ำสีดำ ตามมาตรฐานน้ำบริโภค พบว่าไม่ได้มาตรฐานทางด้านเคมีและจุลชีววิทยา โดยเฉพาะปริมาณสารฟลูออไรด์ และเหล็กสูงกว่าเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานน้ำดื่มตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2524) ฉบับที่ 135 (พ.ศ.2534) และ (ฉบับที่ 6)(พ.ศ. 2553) โดยเฉพาะฟลูออไรด์ และเหล็กสูงกว่าเกณฑ์ถึง 14 และ 43 เท่า ซึ่งฟลูออไรด์อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง กระดูก ทำให้เป็นโรคฟันตกกระฟันลาย การทำ งานของไตและต่อมไร้ท่อผิดปกติ ส่วนเหล็กถึงแม้ไม่มีผลต่อสุขภาพมากนัก แต่ถ้าได้รับในปริมาณมากอาจจะสะสมในตับทำให้เกิดโรคได้นอกจากนี้ยังไม่ได้มาตรฐานทางด้านจุลชีววิทยา เนื่องจากพบเชื้อโคลิฟอร์ม มากกว่า 23 ต่อน้ำ 100 มิลลิลิตร เกินเกณฑ์กำหนด และพบอีโคไลน์ และสแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส   เชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคทางเดินอาหาร ท้องเสีย และอาหารเป็นพิษ สำหรับตะกอนสีดำ เป็นสารกลุ่มซัลไฟด์ ตรวจพบในปริมาณ 4.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งคุณภาพน้ำบริโภคจะต้องไม่มีสารนี้อยู่เลย ดังนั้นจึงนำไปเทียบกับมาตรฐานน้ำทิ้งพบว่าเกินมาตรฐานถึง 4.8 เท่า อย่างไรก็ตาม จากผลการทดสอบนี้ชี้ให้ห็นว่าตัวอย่างน้ำจากบ่อน้ำสีดำไม่ได้มาตรฐาน โดยพบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ และพบซัลไฟด์เกินมาตรฐานน้ำทิ้ง จึงจัดเป็นน้ำเสียที่ต้องผ่านการบำบัด หรือปรับปรุงคุณภาพน้ำตามมาตรฐานก่อนนำมาใช้ ประชาชนไม่ควรดื่มหรือใช้น้ำบ่อสีดำเพราะมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ อาจทำให้เกิดโรคได้ ส่วนชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์ เพราะจากน้ำสีดำและใสได้ แท้จริงเป็นปฏิกิริยาทางเคมี ถ้ามีอากาศน้อยหรืออกซิเจนต่ำจะทำให้น้ำเป็นสีดำเพราะมีตะกอนของสารประกอบเหล็กกับซัลไฟด์ แต่ถ้ามีอากาศหรือออกซิเจนสูงจะเกิดการสลายตัวเป็นซัลเฟอร์ และซัลเฟต ตะกอนสีดำจะหายไป น้ำจึงใสขึ้น Thaipbsonline 04.05.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร