Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

พบหอยทากทะเลพันธุ์ใหม่‘ปล่อยใย’ ได้  

นักวิทยาศาสตร์ถึงกับทึ่ง เมื่อพบหอยทากทะเลชนิดใหม่สีสดใส มีความสามารถปล่อยใยเมือกราวกับซูเปอร์ฮีโร่ “สไปเดอร์แมน” ได้ นักวิทยาศาสตร์ค้นพบสัตว์ชนิดใหม่ระหว่างการสำรวจซากเรือใต้ท้องทะเลที่ใช้สำหรับทำปะการังเทียมบริเวณเขตรักษาธรรมชาติทางทะเลแห่งชาติฟลอริดาคีย์ สหรัฐ โดยสัตว์ชนิดนี้เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดจิ๋วจำพวกหอยทากหนอนที่มีรูปร่างคล้ายท่อ แลดูลำตัวอ่อนนิ่ม มีปลายเปิดด้านหนึ่ง ตัวอ่อนของหอยทากหนอนจะขยายคืบคลานไปรอบๆ ต่อมาจะสร้างเปลือกแข็งขึ้นมาอย่างถาวรราวกับปะการังหรือก้อนหิน และปักหลักอยู่กับที่เมื่อโตเต็มวัย หอยทากหนอนชนิดใหม่นี้มีชื่อว่า ไทลาโคดี แวนดีเอซิส (Thylacodes vandyensis) ตั้งตามชื่อของเรือที่ค้นพบคือ “ยูเอสยูเอ็น เจเนอรัล ฮอยต์ เอส. แวนเดนเบิร์ก” หรือ “แวนดี้” เรือขนส่งทางทะเลสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ความยาว 159 เมตร ซึ่งถูกเจาะท้องเรือเพื่อให้จมลงสู้ก้นทะเลเมื่อวันที่ 27 พ.ค. 2552 กลายเป็นแหล่งปะการังเทียมที่ใหญ่อันดับ 2 ของโลก รือดีเกอร์ เบียเลอร์ จากนครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ของสหรัฐ หัวหน้าคณะวิจัยชุดนี้ เล่าว่า หอยทากหนอนมีหลากหลายขนาด แต่โดยเฉลี่ยแล้วพวกมันมีความยาวพอๆ กับนิ้วมือ วัดขนาดได้ถึง 25 มม. และมีปลายเปิดแคบๆ เส้นผ่าศูนย์กลางกว้าง 5.5 มม. หอกทากชนิดใหม่นี้ยังมีสีสันสดใส บริเวณผิวหน้ามีสีส้มอ่อนๆ ที่มองทะลุเข้าไปข้างในได้ พร้อมชูกิ่งก้านสาขาจำนวน 4 หน่อ โดยที่ 2 หน่อเชื่อมต่อกับต่อมผลิตเมือกแบบเดียวกับที่หอยทากในสวน สร้างเมือกขึ้นมาเพื่อขีดเส้นทางเดินของตัวเอง แต่หอยทากหนอนสร้างเมือกเป็นตาข่ายคล้ายใยแมงมุมสำหรับดักจับแพลงก์ตอนและวัตถุอินทรีย์อื่นๆ จากนั้นดึงรวบเข้ามากิน และนำใยที่ใช้กลับไปรีไซเคิลอีกครั้งเพื่อดักจับเหยื่อต่อไป หากท่ออันหนึ่งเสียหาย ปลาจะเข้ามากิน แต่ถ้ามีตาข่ายเมือกอยู่ด้วย พวกมันจะถอยห่างทันที เห็นได้ชัดว่าตาข่ายเมือกเป็นวิธีขัดขวางปลาชนิดต่างๆ ด้วย” เบียเลอร์ กล่าว ถิ่นกำเนิดของหอยทากหนอนอยู่ไกลแสนไกล สอดคล้องกับหลักฐานทางพันธุกรรมที่ยืนยันว่า สายพันธุ์ที่ใกล้ชิดหอยทากหนอนมากที่สุดล้วนมาจากมหาสมุทรแปซิฟิก บ่งชี้ว่าสัตว์ชนิดนี้ไม่ใช่สัตว์ประจำถิ่นแอตแลนติกอย่างแน่นอน ปกติแล้ว สัตว์ผู้รุกรานจากแปซิฟิกรวมถึงหอยนางรม ปรากฏอยู่ตามซากเรืออับปางอยู่แล้ว เป็นไปได้ว่า หอยทากชนิดนี้อาจมาจากแปซิฟิกก็เป็นได้ แต่คงไม่น่าใช่ผู้รุกรานตัวสุดท้ายที่ตั้งรกรากบริเวณปะการังเทียม คมชัดลึก ออนไลน์ 5 พ.ค.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร