Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

รามาฯใช้หุ่นยนต์ผ่าตัดสมองรายแรกเอเชีย  

ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี มีงานแถลงข่าว “รามาธิบดีกับความสำเร็จ : หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดสมองแห่งแรกในเอเชีย” โดยมี ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยามหิดล พร้อมด้วย ศ.นพ.วชิร คชการ หัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ และ ผศ.น.ท.นพ.สรยุทธ ชำนาญเวช สาขาประสาทศัลยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ร่วมกันแถลงข่าว ศ.นพ.ปิยะมิตรกล่าวว่า ก่อนหน้านี้ทางโรงพยาบาลประสบความสำเร็จในการนำหุ่นยนต์ผ่าตัดกระดูกสันหลังเข้ามาใช้ ซึ่งในครั้งนี้ก็มีการนำหุ่นยนต์ผ่าตัดสมองเข้ามาใช้รักษาผู้ป่วยซึ่งได้ผลดี ถือเป็นความสำเร็จครั้งแรกของเอเชีย แต่ยังมีค่ารักษาค่อนข้างสูง โดยคิดเพิ่มจากค่ารักษาส่วนอื่นๆ อยู่ที่หลักแสนบาท อย่างไรก็ตาม อยู่ระหว่างการต่อรองเพื่อให้ราคาถูกลง อย่างไรก็ตาม แม้สิทธิการรักษาไม่ครอบคลุมการรักษาดังกล่าว แต่ทางโรงพยาบาลก็มีมูลนิธิที่คอยให้การช่วยเหลือเรื่องค่าใช้จ่ายอยู่ สามารถขอรับสิทธิได้ แต่ต้องเป็นไปตามคำวินิจฉัยของแพทย์ ทั้งนี้ การผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์ผ่าตัดจะใช้รักษาในผู้ป่วยเนื้องอกในสมอง เส้นเลือดโป่งพอง หรือรักษาโรคพาร์กินสัน โรคจิตบางประเภท ที่มีขนาดเล็กกว่า 3 เซนติเมตร (ซม.) ลงไป ผศ.น.ท.นพ.สรยุทธกล่าวว่า โดยการผ่าตัดจะมีทั้งหมด 4 ขั้นตอน คือ 1.ทำเอ็มอาร์ไอสมองแล้วโหลดค่าที่ได้เข้าไปยังหุ่นยนต์ 2.ทำซีทีสแกนแล้วโหลดเข้าไปยังหุ่นยนต์ผ่าตัดเช่นเดียวกัน เพื่อรวมค่า ประมวลผล 3.กำหนดเป้าหมายการผ่าตัด ทำหน้าที่ตามที่ศัลยแพทย์ต้องการ และ 4.การลงมือผ่าตัด ซึ่งการผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์จะมีความแม่นยำสูง ค่าความคาดเคลื่อนไม่เกิน 1 มิลลิเมตร (มม.) ในขณะที่การผ่าตัดแบบนำวิถีค่าความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ประมาณ 3-5 มม. โดยหุ่นยนต์ใช้เวลาผ่าตัดเพียงครึ่งชั่วโมง เมื่อผู้ป่วยฟื้นแล้วก็สามารกลับไปพักฟื้นต่อที่บ้านได้ นพ.สรยุทธกล่าวต่อว่า หากมีค่าความผิดพลาดในการผ่าตัดสูงก็ทำเป็นอัมพาต บางเคสอาจผ่าตัดผิดพลาดไปโดนเส้นประสาทส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของแขน ขา พูดไม่ได้ ตามองไม่เห็น และอาจจะเสียชีวิตได้ โดยเคสแรกที่โรงพยาบาลรามาฯ ผ่าตัดสำเร็จเป็นชายอายุ 70 ปี มีเนื้องอกที่สมองส่วนหน้าขนาด 2 ซม. ส่งผลให้มีอาการสับสน มึนงง แต่เนื่องจากผู้ป่วยเคยผ่าตัดเนื้องอก ทำให้การรักษาด้วยการผ่าตัดมีโอกาสคลาดเคลื่อนสูง แต่เมื่อทำการผ่าตัดดังกล่าวก็ได้ผลดี พบว่ามีความคลาดเคลื่อนเพียง 0.04 มม. ขณะนี้อยู่ระหว่างพักฟื้นเพื่อรอรับคีโมต่อไป. ไทยโพสต์ออนไลน์ 9.05.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร