Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แย้งทันตแพทย์ ปส.ยืนยันมีอำนาจออกใบอนุญาตเครื่องเอกซเรย์มากว่า 50 ปี   

ปส.ยืนยันอำนาจออกใบอนุญาตเครื่องเอกซเรย์ เป็นของ คกก.พปส. มาตั้งแต่ปี 2508 จากการที่ฝ่ายทันตแพทย์​เปิดเผยว่า เดิมมีการขึ้นทะเบียนเครื่องเอกซเรย์ทันตกรรมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (วพ.) อยู่แล้ว นั้น ปส. ขอยืนยันว่าการขึ้นทะเบียนกับ วพ. เป็นเพียงการยื่นเอกสารเพื่อขอรับใบอนุญาต ซึ่งอำนาจการออกใบอนุญาตเป็นของคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (คกก.พปส.) (ชื่อเดิม) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีเลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติเป็นเลขานุกา ดร.อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กล่าวว่า เมื่อช่วงก่อน พ.ศ.2550 ปส. มีกฎกระทรวงกำหนดเงื่อนไขและวิธีการขอรับใบอนุญาต และออกใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. ๒๕๐๔ พ.ศ.2546 กำหนดให้ยื่นเอกสารคำขอรับใบอนุญาตเครื่องกำเนิดรังสีทางการแพทย์ เครื่องเอกซเรย์ที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (วพ.) โดยอำนาจการออกใบอนุญาตเป็นของคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (คกก.พปส.) (ชื่อเดิม) จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ.2550 ได้ออกกฎกระทรวงกำหนดเงื่อนไข วิธีการขอรับใบอนุญาต และการดำเนินการเกี่ยวกับวัสดุนิวเคลียร์พิเศษ วัสดุต้นกำลัง วัสดุพลอยได้ หรือพลังงานปรมาณู พ.ศ.2550 พร้อมยกเลิกกฎกระทรวงเดิม โดยได้กำหนดให้มีการยื่นคำขออนุญาตต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ปส. ในปีเดียวกันนั้นได้โอนข้าราชการจาก วพ. บางส่วนที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องกำเนิดรังสีทางการแพทย์มาปฏิบัติงานที่ ปส. เพื่อสานต่องานเกี่ยวข้องต่อไป ปส. จึงขอย้ำเพื่อความชัดเจนและสร้างความเข้าใจที่ตรงกันว่า กระบวนการขออนุญาตเครื่องกำเนิดรังสีทุกประเภทที่ผ่านมาเป็นอำนาจของคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ โดยมี วพ. เป็นหน่วยงานสนับสนุน และทำงานร่วมกับ ปส. มาโดยตลอด ดร.อัจฉรา กล่าวต่อไปว่า ที่ผ่านมาพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ.2504 ไม่ได้ระบุให้มีการกำกับดูแลเครื่องกำเนิดรังสีไว้ ต่อมาจึงเกิดพระราชบัญญัติฉบับแก้เพิ่มเติมในปี พ.ศ.2508 แสดงชัดเจนว่ามีการกำกับเครื่องกำเนิดรังสี รวมถึงทางการแพทย์ด้วย แต่เนื่องจากพระราชบัญญัติดังกล่าวก็ยังไม่ได้คุมตั้งแต่การนำเข้า ครอบครอง จึงไม่สามารถทราบได้ว่าสถานที่แห่งใดมีการครอบครอง และใช้เครื่องกำเนิดรังสีทางการแพทย์ ทำให้ไม่สามารถบังคับใช้กฎหมายได้อย่างเต็มที่ พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ.๒๕๕๙ ที่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ.60 ที่ผ่านมา ได้ถูกปรับปรุงมาจากพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ.๒๕๐๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๐๘ เพื่อควบคุมตั้งแต่การนำเข้า ครอบครองหรือใช้ ส่งออก รวมถึงการทำ หรือผลิตขึ้นเองภายในประเทศ ทำให้สามารถกำกับได้ตั้งแต่ต้นทาง จะสามารถดูแลความปลอดภัยทั้งระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดการออนไลน์ 10 พ.ค.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร