Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ก.ดีอี ชี้หากพบว่าติดมัลแวร์เรียกค่าไถ่ให้รีบปิดเครื่องทันที  

กระทรวงดีอี พร้อมรับมือ-แก้ปัญหามัลแวร์เรียกค่าไถ่ WannaCry ย้ำผู้ใช้คอมฯ อย่าเปิดอีเมลที่ไม่รู้จักแหล่งที่มา หมั่นสำรองข้อมูลสำคัญในฮาร์ดดิสก์อื่นอย่างสม่ำเสมอ หากพบว่าติดมัลแวร์รีบปิดเครื่องพร้อมแจ้งสายด่วน 1212 ทันที วันนี้ (14 พ.ค.) น.อ.สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) เปิดเผยว่า จากกรณีที่มีมัลแวร์เรียกค่าไถ่ ชื่อ “WannaCry” ระบาดไปยังคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์ทั่วโลก เมื่อวันที่ 12 พ.ค.2560 โดยมัลแวร์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาเพื่อก่อความเสียหายแก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะถูกส่งมายังคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้โดยไม่มีข้อมูลใดๆ ของผู้ส่ง เมื่อผู้ใช้เปิดไฟล์ หรือดาวน์โหลดตัวมัลแวร์จะทำงานด้วยการบล็อกไฟล์เอกสารต่างๆ ในคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ด้วยการเข้ารหัสลับ ซึ่งผู้ใช้จะไม่สามารถเปิด หรือดาวน์โหลดข้อมูลที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ของตัวเองได้เลย ทั้งนี้ ปัจจุบันมีคอมพิวเตอร์ที่ถูกระบบ WannaCry นี้ เข้าบล็อกข้อมูลแล้วกว่า 1 แสนเครื่องทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ โรงพยาบาลกว่า 10 แห่ง ไม่สามารถเปิดบริการได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ถูกมัลแวร์ดังกล่าวเล่นงาน ตัว WannaCry หรือ มัลแวร์เรียกค่าไถ่นี้ เมื่อคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้คนใดกลายเป็นเหยื่อ หากต้องการที่จะปลดล็อก จะต้องจ่ายเงินประมาณ 300 ดอลลาร์ หรือประมาณ 10,500 บาท เพื่อเป็นการไถ่ข้อมูลคืน ในรูปแบบของ Bit Coin ไม่เช่นนั้นก็ไม่สามารถเปิดไฟล์เอกสารต่างๆ ได้ น.อ.สมศักดิ์ กล่าวว่า รัฐบาลมีความเป็นห่วงกรณีดังกล่าว โดยพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้สั่งการให้กระทรวงดีอี เร่งติดตามเฝ้าระวังปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด ซึ่ง ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดีอี ได้มอบหมายให้ศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (ThaiCERT) สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ เอ็ตด้า (ETDA) ดำเนินการแจ้งเตือนและให้คำแนะนำแก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์และผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานในทันที รวมทั้งติดตามเฝ้าระวังและเตรียมพร้อมให้ความช่วยเหลือผู้ใช้คอมพิวเตอร์หรือผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานต่างๆ อย่างทันการณ์ตลอดเวลา ซึ่งในส่วนของประเทศไทยยังไม่พบความเสียหายที่ร้ายแรงจากการติดมัลแวร์ดังกล่าวแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์หรือผู้ดูแลระบบของหน่วยงานต้องดำเนินการในเบื้องต้น คือ การป้องกันไม่ให้มัลแวร์ดังกล่าวเข้ามาอยู่ในคอมพิวเตอร์ โดยการไม่เปิดไฟล์เอกสารแนบของอีเมลโดยไม่จำเป็น และควรตรวจสอบแหล่งที่มาของไฟล์ที่ถูกส่งเข้ามาในอีเมล หรือช่องทางต่างๆ ให้แน่ใจก่อนเปิดอ่าน ที่สำคัญควรปรับปรุงระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (OS) ของระบบวินโดว์ (Windows) ให้เป็นเวอร์ชั่นล่าสุด รวมทั้งควรสำเนาข้อมูลสำคัญต่างๆ ไว้ในฮาร์ดดิสต์อื่น (External Hardisk) เพื่อเป็นการสำรองข้อมูล แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดนั้น กรณีผู้ใช้งานทั่วไปเมื่อผู้ใช้พบว่าคอมพิวเตอร์ติดมัลแวร์ดังกล่าวให้ปิดเครื่องและแจ้งผู้ดูแลระบบของหน่วยงานหรือแจ้งศูนย์ OCC (Online Complaint Center) โทร. 1212 สำหรับผู้ดูแลระบบ ให้ปิดบริการ SMBv1 ที่ Windows servers และปิดการเข้าถึงพอร์ต TCP/UDP 135-139 และ TCP 445 ที่อุปกรณ์ Firewall โดยสามารถติดต่อ ThaiCERT ETDA โทร. 02-123-1212 ตลอด 24 ชม." น.อ.สมศักดิ์ กล่าว เดลินิวส์ออนไลน์ 14 พ.ค.60

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร