Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยพบโครงสร้างสมองเปลี่ยนแม้เริ่มหัดอ่านตอนเป็นผู้ใหญ่  

นักวิจัยศึกษาผู้หญิงอินเดียที่เริ่มหัดอ่านตอนอายุในวัย 30 ปีขึ้นไป พบว่าสมองของพวกเธอเปลี่ยนแปลงอย่างอัศจรรย์ ทั้งการจัดระบบและการเปลี่ยนรูปร่างตัวเอง โดยการศึกษาดังกล่าวเลือกผู้หญิงอินเดียซึ่งเป็นชาติที่มีอัตราการอ่านออกเขียนได้เพียง 39% เพื่อที่นักวิทยาศาสตร์จะได้พิจารณาสมองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน เริ่มต้นของการศึกษาตามรายงานของเอเอฟพีระบุว่า ผู้หญิงส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านภาษาแม่ของตัวเองได้นั่นคือภาษาฮินดี แต่หลังจากผ่านไป 6 เดือน ผู้หญิงที่เข้ารับการฝึกฝนมีความสามารถเทียบเท่านักเรียนชั้น ป.1 ฟาล์ก เฮือททิก (Falk Huettig) จากสถาบันมักซ์พลังก์ด้านการศึกษาภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา (Max Planck Institute for Psycholinguistics) หัวหน้าทีมศึกษาในครั้งนี้ ซึ่งได้ตีพิมพ์ผลการศึกษาลงในวารสารไซน์สแอดวานซ์ (Science Advances) กล่าวถึงการศึกษาครั้งนี้ ความรู้ที่เพิ่มพูนของอาสาสมัครนั้นน่าทึ่ง ขณะที่การเรียนรู้ภาษาใหม่เป็นเรื่องยากสำหรับเรา แต่ปรากฏว่าการเรียนรู้ที่จะอ่านเป็นเรื่องง่ายกว่า สมองของผู้ใหญ่พิสูจน์ให้เห็นว่า สามารถยืดหยุ่นได้อย่างน่าประหลาด” เฮือททิกกล่าว อีกเรื่องสำคัญที่ทีมวิจัยได้ค้นพบจากการศึกษาครั้งนี้คือสมองชั้นนอกที่เรียกว่า “คอร์เทกซ์” (cortex) ซึ่งมีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างฉับไวเมื่อเจอความท้าทายใหม่ๆ กลับไม่ใช่บริเวณที่สมองเกิดการเปลี่ยนแปลง ตรงกันข้ามนักวิจัยได้พบว่าการจัดระเบียบใหม่ของสมองนั้นเกิดขึ้นที่ชั้นในของสมอง บริเวณบางส่วนของก้านสมองและสมองส่วนธาลามัส (thalamus) โครงสร้างสมองที่มีขนาดเท่าลูกวอลนัทซึ่งถ่ายทอดข้อมูลการรับรู้และการเคลื่อนไหว ไมเคิล สไกด์ (Michael Skeide) นักวิจัยวิทยาศาสตร์จากสถาบันมักซ์พลังก์ด้านวิทยาการรับรู้และสมองของมนุษย์ กล่าวว่าพวกเขาพบว่าสมองในส่วนของก้านสมองบริเวณที่เรียกว่า “คอลลิคูลิซูพีเรียร์ส” (colliculi superiores) และ “พัลวินาร์” (pulvinar) ในส่วนของธาลามัสนั้น ทำงานสอดคล้องกับเปลือกสมองส่วนการมองเห็น (visual cortex) สร้างที่อยู่ลึกในธาลามัสและก้านสมองนั้น ช่วยให้เปลือกสมองส่วนการมองเห็นคัดกรองข้อมูลสำคัญ จากปริมาณข้อมูลการมองเห็นที่ท่วมท้นเข้ามา ก่อนที่เราจะได้ทันรับรู้อย่างตั้งใจ” สไกด์กล่าว นักวิจัยยังพบว่ายิ่งมีสัญญาณจัดระเบียบอยู่ในบริเวณสมองที่ได้รับผลกระทบมาก ยิ่งมีความสามารถในการอ่านได้ดีขึ้น โดยสไกด์เสริมว่าระบบสมองยิ่งปรับปรุงการสื่อสารให้ดีขึ้นเมื่อผู้ฝึกฝนการอ่านมีความช่ำชองมากขึ้น ซึ่งอธิบายได้ว่าทำไมคนอ่านที่มีประสบการณ์ยิ่งมีความช่ำชองในการอ่านมากขึ้น รายงานระบุว่าการค้นพบนี้นับว่ามีความสำคัญต่อการบำบัดโรคบกพร่องในการอ่าน (dyslexia) ซึ่งนักวิจัยบางส่วนกล่าวโทษว่าเป็นผลจากการทำงานของสมองส่วนธาลามัสที่บกพร่อง และสไกด์ก็บอกว่าสิ่งที่พวกเขาได้พบคือการฝึกผนการอ่านเพียงไม่กี่เดือนก็ปรับเปลี่ยนโครงสร้างพื้นฐานของสมองส่วนธาลามัสได้ ดังนั้นพวกเขาจะต้องศึกษาสันนิษฐานนี้ต่อไปอย่างรอบคอบ สำหรับการศึกษาครั้งนี้ยังมีความร่วมมือกับศูนย์วิจัยชีวการแพทย์อินเดีย (Centre of Bio-Medical Research: CBMR) ในลัคเนา (Lucknow) อินเดีย และ มหาวิทยาลัยไฮเดอราบัด (University of Hyderabad) อินเดีย ผู้จัดการออนไลน์ 06.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร