Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิทยาศาสตร์อเมริกันพัฒนา 'เมล็ดพืชอัจฉริยะ' ให้ผลผลิตสูงและอุดมด้วยสารอาหาร   

การคิดค้นกระบวนการที่ทำให้พืชมีสารอาหารบางอย่างมากขึ้นกว่าเดิม เรียกว่า กระบวนการไบโอฟอร์ทิฟิเคชั่น (biofortification) ซึ่งฟังเเล้วซับซ้อน แต่จริงๆ เเล้วเป็นแนวคิดอย่างง่ายที่มุ่งคิดค้นเมล็ดพืชที่ดีกว่าเดิมเพราะจะโตเป็นพืชอาหารหลักที่ให้สารอาหารมากขึ้นกว่าเดิม Bev Postma ซีอีโอแห่งหน่วยงานไม่หวังผลกำไร HarvestPlus ในกรุงวอชิงตัน ซึ่งเป็นผู้คิดค้นเมล็ดพืชอัจฉริยะนี้ กล่าวว่า เมล็ดพืชที่ได้รับการเพิ่มปริมาณสารอาหารจะเต็มไปด้วยสารอาหารที่สำคัญต่อร่างกายไม่ว่าจะเป็นธาตุเหล็ก ธาตุสังกะสี และวิตามินเอ เธอกล่าวว่ามีความสำคัญมากที่เมล็ดพืชเหล่านี้ไม่เพียงเเค่มีปริมาณสารอาหารสูงเท่านั้น เเต่ยังให้ผลผลิตสูงอีกด้วย มีความทนทานต่อศัตรูพืช ทนทานต่อสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นคุณสมบัติของพืชที่ชาวนาต้องการ การขาดสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายอาจทำให้ร่างกายอ่อนแอ ล้มป่วยหรือติดเชื้อโรคได้ง่ายขึ้น และในบางกรณี อาจทำให้สูญเสียสายตาและเเคระเเกร็น คุณ Postma ซีอีโอแห่งหน่วยงานไม่หวังผลกำไร HarvestPlus กล่าวว่า ผลกระทบต่อร่างกายเหล่านี้เป็นผลเสียจากความอดอยากที่มองไม่เห็น และมีคนทั่วโลก 2 พันล้านคนที่เสี่ยงต่อผลกระทบร้ายเเรงนี้ ในขณะที่มีคนเสียชีวิตทั่วโลกปีละ 450,000 คน เนื่องจากภาวะขาดอาหารและทุพโภชนาการ ทีมนักวิทยาศาสตร์ที่หน่วยงานไม่หวังผลกำไร HarvestPlus ได้คิดค้นเมล็ดพันธุ์เสริมสารอาหารของพืชอาหารหลัก 12 ชนิด ออกมาได้แล้ว 150 พันธุ์ ซึ่งมีทั้งข้าวโพด ถั่ว ข้าว ถั่วเลนทิล และข้าวสาลี ทางหน่วยงานได้ตั้งโครงการเเจกจ่ายเมล็ดพืชอัจฉริยะตั้งเเต่ปี ค.ศ. 2003 เเละได้เเจกจ่ายเเก่คนในประเทศยากจน 30 ชาติ รวมเเล้วราว 20 ล้านคน เเละตั้งเป้าว่าจะเเจกจ่ายแก่คนได้ถึงหนึ่งพันล้านคนภายในปี ค.ศ. 2030 หรืออีก 13 ปีข้างหน้า Postma ซีอีโอแห่งหน่วยงานไม่หวังผลกำไร HarvestPlus กล่าวว่า ทางหน่วยงานไม่ได้มุ่งปรับเปลี่ยนนิสัยการกินของคน เพียงเเต่ปรับปรุงให้อาหารหลักที่คนกิน มีคุณค่าทางสารอาหารมากยิ่งขึ้นเท่านั้น เมล็ดพืชที่ผ่านกระบวนการเพิ่มสารอาหารนี้จะถูกเพาะปลูกตามแนวทางการเกษตรแบบดั้งเดิม และเเตกต่างจากพืชตกเเต่งพันธุกรรมหรือพืชจีเอ็มโอ หน่วยงาน HarvestPlus เเจกจ่ายเมล็ดพืชผ่านบริษัทเมล็ดพันธุ์พืช และบางครั้งจะเเจกจ่ายเมล็ดพืชแก่ชาวนาโดยตรง ทางหน่วยงานได้เรียนรู้ว่าในบางประเทศ หากนำเมล็ดพืชไปแจกจ่าย นอกจากจะกระตุ้นให้ชาวนานำเมล็ดไปปลูกเเล้ว ยังบอกให้ชาวนาเเจกจ่ายเมล็ดพันธุ์หลังการเก็บเกี่ยวในปีต่อไปให้เเก่ชาวนารายใหม่ต่อไปอีก 4 ราย Postma ซีอีโอแห่งหน่วยงานไม่หวังผลกำไร HarvestPlus กล่าวว่า ในที่สุดพืชเสริมสารอาหารจะกลายเป็นทางออกแก่ปัญหาสุขภาพของคนผ่านการเกษตรกรรม Voice of America 09.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร