Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

พบปรากฏการณ์ที่ “ไอน์สไตน์” ไม่คิดว่าจะได้เห็น  

นักวิทยาศาสตร์อาศัยข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ค้นพบปรากฏการณ์ที่ “ไอน์สไตน์” ไม่คาดว่าจะได้เห็น และช่วยยืนยันหนึ่งในทฤษฎีอายุร่วมร้อยปีของนักฟิสิกส์ ทั้งนี้ นักดาราศาสตร์ได้เห็นภาพการเลี้ยวเบนของแสงจากดาวฤกษ์ที่อยู่แสนไกล และเผยให้เห็นมวลของดาวฤกษ์ดังกล่าวเมื่อมีวัตถุผ่านหน้า หรือที่เรียกว่าปรากฏการณ์ไมโครเลนส์โน้มถ่วง (gravitational microlensing) ซึ่งการค้นพบครั้งนี้เอเอฟพีระบุว่า ได้รายงานลงวารสารไซน์ (Science) ในการสังเกตดังกล่าวทีมนักดาราศาสตร์อาศัยข้อมูลที่บันทึกด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) โดย เทอร์รี ออสวอลท์ (Terry Oswalt) จากมหาวิทยาลัยอุตุนิยมวิทยาการบินเอมบรี-ริดเดิล (Embry-Riddle Aeronautical University) ได้เขียนเสริมบทความเปอร์สเปคทีฟ (Perspective) ในวารสารไซน์ว่า ไอน์สไตน์น่าจะภูมิใจ เพราะหนึ่งในคำพยากรณ์ของเขาได้ผ่านการทดสอบทางสังเกตการณ์ที่เข้มงวด สำหรับปรากฏการณ์ไมโครเลนส์โน้มถ่วงนั้นได้รับการสังเกตเป็นครั้งแรกเมื่อปี 1919 ขณะที่แสงดาวโค้งไปรอบๆ ปรากฏการณ์สุริยปุราคาเต็มดวงที่เกิดขึ้นกับดวงอาทิตย์ของเรา ในเวลานั้นการค้นพบดังกล่าวได้ให้ข้อสนับสนุนที่ช่วยพิสูจน์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (theory of general relativity) ของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ซึ่งเป็นกฎทางฟิสิกส์ที่อธิบายแรงโน้มในเชิงเรขาคณิตทั้งในส่วนของพื้นที่และเวลา ออสวอลต์อธิบายว่ามีมีดาวฤกษ์ผ่านหน้าระหว่างเราและดาวฤกษ์ที่อยู่เบื้องหลัง ไมโครเลนส์โน้มถ่วงจะทำให้เกิดวงแหวนของแสงที่กลมไร้ที่ติ ซึ่งเรียกวงแหวนแสงนั้นว่า “วงแหวนไอน์สไตน์” (Einstein ring) แต่ไอน์สไตน์เองไม่เชื่อว่า จะมีโอกาสได้เห็นปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นกับดาวฤกษ์ดวงอื่นนอกจากดวงอาทิตย์ของเรา ไอน์สไตน์เขียนอธิบายในวารสารไซน์เมื่อปี 1936 ถึงเหตุผลที่เราจะไม่เห็นปรากฏการณ์ดังกล่าวจากดาวฤกษ์ดวงอื่น เนื่องจากดาวฤกษ์เหล่านั้นอยู่ไกลมากจนไม่มีความหวังที่เราจะได้สังเกตเห็นปรากฏการณ์ดังกล่าวได้โดยตรง แต่เขาก็ไม่ได้คาดว่าจะมีกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ถูกส่งไปสู่วงโคจรเมื่อปี 2009 และได้เผยให้เห็นดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลๆ อย่างที่คาดไม่ถึงมาก่อนเช่นกัน ในการศึกษาครั้งนี้ ทีมวิจัยนานาชาติซึ่งนำโดย ไคแลช ซี ซาฮุ (Kailash C. Sahu) จากสถาบันวิทยาการกล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Space Telescope Science Institute) ในบัลติมอร์ แมรีแลนด์ ได้อาศัยกล้องโทรทรรศน์อวกาศขององค์การบริหารการบินอวกาศ (นาซา) จับตาดาวฤกษ์ที่อยู่ไกลขณะที่แสงของดาวฤกษ์นั้นหักเหไปรอบๆ ดาวแคระขาวสไตน์ 2051 บี (Stein 2051 B) ที่อยู่ใกล้ๆ สำหรับดาวแคระขาวนั้นเป็นเศษซากที่หลงเหลือของดาวฤกษ์ซึ่งเผาไหม้เชื้อเพลงิไฮโดรเจนหมดแล้ว และถือเป็นซากฟอสซิลของดวงดาวรุ่นบุกเบิกในกาแล็กซีของเรา โดยดาวแคระขาวสไตน์ 2051 บี เป็นดาวแคระขาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดเก็นลำดับที่ 6 และนักวิจัยได้ค้นพบว่าดาวแคระขาวดวงนี้มีมวลประมาณ 2 ใน 3 ของมวลดวงอาทิตย์ การหักเหแสงของดาวฤกษ์พื้นหลังที่อยู่ไกลจากการสังเกตในครั้งนี้สัมพันธ์โดยตรงกับมวลและแรงโน้มถ่วงของดาวแคระขาวสไตน์ 2051 บี โดยซาหุและคณะได้พบว่าวัตถุทั้งสองออกไปจากตำแหน่งที่เหมาะสม และวงแหวนไอน์สไตน์อยู่ในรูปไม่สมมาตร ทำให้พวกเขาคณะหามวลของวัตถุได้ ออสวอลท์กล่าวอีกว่า การพยากรณ์ที่ไอน์สไตน์คาดการณ์ไว้นั้นเรียกว่า “เลนส์แอสโครเมตริก” (astrometric lensing) ซึ่งทีมของเขาเป็นกลุ่มแรกที่ค้นพบปรากฏการณ์นี้ในดาวฤกษ์ดวงอื่นที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์ และเขายังบอกอีกว่า การค้นพบครั้งนี้สำคัญเพราะเป็นเครื่องมือใหม่ที่จะใช้วัดมวลของวัตถุที่เราไม่สามารถวัดได้ด้วยวิธีการอื่น อีกทั้งยังเปิดประตูใหม่ไปสู่ความเข้าใจในประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของกาแล็กซีอย่างกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา ผู้จัดการออนไลน์ 08.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร