Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

เก็บ “กบตัวใส” ในโหลมา 20 ปี ศึกษาดีๆ พบเป็นสปีชีส์ใหม่  

เก็บ“กบตัวใส” ใส่โหลที่ห้องปฏิบัติการในเอกวาดอร์นาน 20 ปี แต่หลังจากนักชีววิทยานำมาศึกษาจึงได้ทราบว่ากบดังกล่าวเป็นสปีชีส์ใหม่ กบดังกล่าวมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า “ไฮยาลิโนบาแทรเชียม ยากุ” (hyalinobatrachium yaku) ซึ่งสามารถมองทะลุผิวหนังใต้ท้องจนเห็นอวัยวะด้านในรวมถึงหัวใจสีแดงได้ และเป็นสปีชีส์ใหม่ของ “กบกระจก” (glass frog) ดิเอโก ซิสเนอรอส (Diego Cisneros) นักชีววิทยา และคณบดีคณะชีววิทยา มหาวิทยาลัยซานฟรานซิสโกในกีโต (Quito's San Francisco University) ในเอกวาดอร์ บอกเอเอฟพีว่า เขาพบกบกระจกตัวนี้ซึ่งมีขนาดเล็กไม่ถึง 1 นิ้วที่ป่าอะเมซอนเมื่อปี 1998 แต่เขาไม่ได้จำแนกชนิดกบดังกล่าวจนกระทั่งเขาเห็นภาพกบแบบเดียวกันในเฟซบุ๊กเมื่อปี 2015 ที่พบโดยนักวิทยาศาสตร์กลุ่มอื่น เขาจึงได้จำแนกชนิดกบนี้แล้วพบว่าเป็นสปีชีส์ใหม่ หลังจากกบชนิดใหม่นี้ถูกดองอยู่ในโหลเก็บไว้ที่ห้องปฏิบัติการของมหาวิทยาลัยนานเกือบ 2 ทศวรรษ ในที่สุดการค้นพบของซิสเนอรอสก็ได้ตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการเมื่อเดือนที่ผ่านมา แม้ว่าจะมีกบตัวใสที่มองทะลุตัวได้ แต่มีไม่กี่ชนิดที่สามารถมองทะลุจนเห็นหัวใจขณะเต้นอยู่ได้ โดย ฌอน มานูเอล กัวยาซามิน (Juan Manuel Guayasamin นักชีววิทยาจากมหาวิทยาลัยซานฟรานซิสโกในกีโตบอกว่ามีสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกเพียง 0.2% เท่านั้นมีตัวใสจนมองเห็นหัวใจได้ ผู้เชี่ยวชาญบอกว่าความใสของตัวนี้อาจใช้เพื่อหลบจากนักล่า ขณะที่กัวซายามินให้ความเห็นว่า เป็นไปได้ที่ลักษณะท้องใสของกบนั้นอาจเพื่อช่วยลดการใช้พลังงาน เพราะไม่ต้องมีกระบวนการสร้างสารให้ตัวทึบ สำหรับกบในเอกวาดอร์นั้นค่อนข้างตกในอยู่ภาวะวิกฤตเนื่องจากการตัดไม้ทำลายป่า การก่อสร้าง การขุดเจาะน้ำมันและการทำเหมือง โดยซิสเนอรอสกล่าวว่า กบชนิดใหม่นี้เป็นตัวแทนของความสำคัญในการรักษาทรัพยากรน้ำ เนื่องจากกบไฮยาลิโนบาแทรเชียม ยากุนี้ต้องอาศัยอยู่ในแม่น้ำที่สะอาดเพื่อจะอยู่รอดและสืบเผ่าพันธุ์ต่อไป ผิวหนังของกบที่ไวต่อสัมผัสและหายใจได้นี้ จึงอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นเหตุให้สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกนี้สูญพันธุ์ได้ง่ายๆ” ซิสเนอรอสกล่าว ผู้จัดการออนไลน์ 12.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร