Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ล้ำไป! นักวิจัยปรับปรุง ‘รา’ สายพันธุ์พิเศษ  

“โรคมาลาเรีย” (Malaria) สังหารคนทั่วโลก 500,000 คนต่อปีเป็นอย่างต่ำ จากการรายงานของ WHO ซึ่งในพื้นที่แอฟริกาใต้สะฮารา มีการโจมตีของยุงที่เป็นพาหะของเชื้อมาลาเรียหนักที่สุด และยาฆ่าแมลงที่ใช้กันมานาน เริ่ม “หมดฤทธิ์” เนื่องจากยุงเองก็พัฒนาอยู่ตลอดเวลา จนระบบประสาทเริ่มเรียนรู้ที่จะต้านทานยาฆ่าแมลง ดังนั้นการแก้ปัญหาเรื้อรังเช่นนี้ จะมาใช้องค์ความรู้เดิมๆที่ตกทอดมา 100 กว่าปี อาจไม่ได้ผล นักวิทยาศาสตร์จึงต้องคิดให้แหวกแนวกว่าเดิม แต่ ทำให้ “รา” ปล่อยพิษของแมงมุมและแมงป่องได้ ก็ล้ำไปอี๊ก! ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัย Maryland พัฒนา “รา” (Fungus) สายพันธุ์พิเศษ ที่ปรับปรุงพันธุกรรมให้มันสามารถ “ปล่อยพิษ” แมงมุมและแมงป่องเพื่อมุ่งสังหารยุงร้ายได้ ซึ่งเป็นการควบคุมเชิงชีวภาพระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกัน โดยราที่พัฒนานั้น จะไม่สร้างผลกระทบต่อมนุษย์ และแมลงอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้อง อย่าง ผึ้งน้ำหวาน (Honey Bees) เชื้อราที่เกิดจากห้องทดลอง สายพันธุ์ Metarhizium pingshaensei สามารถปล่อยพิษผ่านสปอร์ได้ โดยจะไปรบกวนระบบการดูดเลือดของยุง (คล้ายพิษของพวกแมงมุมและแมงป่องที่มีผลต่อประสาท) ซึ่งคาดว่ามีความสำเร็จในการสังหารถึง 90% ภายใน 5 วัน กระบวนการก็สยองมิใช่เล่น เมื่อสปอร์สัมผัสกับตัวยุง มันจะเจาะเข้าไปในลำตัวและฆ่ายุงจากภายใน แต่กระบวนการนี้อาจใช้เวลานาน นักวิจัยจึงติดอาวุธให้สปอร์เพิ่มด้วย “พิษแมงมุมและแมงป่อง” เป็นกลุ่มพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin) ไปยับยั้งแคลเซียม โพแทสเซียม และโซเดียม ในประสาทของยุง มีการทดลองใช้เชื้อรานี้ในยุงแล้ว ได้ผลสำเร็จอย่างดีในกลุ่มยุงที่ต้านยาฆ่าแมลง ปัจจุบันได้รับการอนุมัติจาก สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ (United States Environmental Protection Agency) เป็นที่เรียบร้อย แม้จะมีการทดลองในพื้นที่ปิด ลักษณะเป็นโรงเรือนที่กักขังยุงไว้เพื่อการทดลองในประเทศบูร์กินาฟาโซ ของแอฟริกาตะวันตก แต่ทีมวิจัยเตรียมวางแผนปล่อยสปอร์นี้ในพื้นที่จริง ในสภาพแวดล้อมเปิดกว้าง ซึ่งจากการทดลองที่ผ่านๆมา เชื้อราไม่สร้างผลกระทบต่อแมลงอื่นๆนอกจากยุง อย่างไรก็ตาม การปรับปรุงสายพันธุ์รายังเป็นเรื่องใหม่มาก เราอาจยังไม่เห็นพบกระทบในเร็วๆนี้ ขอให้เรากำจัดยุงได้ แต่อย่าให้เลยเถิดเหมือนใน The Last Of Us ก็แล้วกันนะ ราแบบสายพันธุ์ Cordyceps fungus อันนั้นก็ไม่ดี ที่มา: Improved efficacy of an arthropod toxin expressing fungus against insecticide-resistant malaria-vector mosquitoes https://www.nature.com/articles/s41598-017-03399-0 The Matter 18.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร