Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สวนสัตว์เดนเวอร์ รัฐโคโลราโด สหรัฐได้ลูก‘กบหนังห้อย’ ตัวแรก  

ลูกอ๊อด “กบทะเลสาบตีตีกากา” สัตว์ใกล้สูญพันธุ์เข้าขั้นวิกฤตตัวใหม่ล่าสุด ลืมตาดูโลกเป็นตัวแรกในแถบอเมริกาเหนือ ที่สวนสัตว์เดนเวอร์ รัฐโคโลราโด สหรัฐ ด้วยรูปร่างที่ผอมเพรียว และเคลื่อนไหวอย่างคล่องแคล่วว่องไว กบทะเลสาบตีตีกากา หรือกบหนังห้อย (Telmatobius culeus) ตัวใหม่ที่สหรัฐ เป็นลูกหลานของพ่อแม่กบจากสวนสัตว์ฮัวชิปา กรุงลิมา โดยกบชนิดนี้ เป็นสัตว์พื้นเมืองของเปรู ปรับตัวได้ดีในน้ำอุณหภูมิ 10-17 ตามปกติกบหนังห้อย จะมีถิ่นอาศัยอยู่บริเวณทะเลสาบตีตีกากาบนเทือกเขาแอนดีส ที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลราว 3,811 เมตร เมื่อเติบโตเต็มวัย ลำตัวจะมีสีเทา-เขียว รูปร่างใหญ่ มีขนาดยาว 50 ซม. และน้ำหนักถึง 900 กรัม ลักษณะผิวหนังที่เป็นถุงห้อยย้อยทำให้มีพื้นที่ผิวมากกว่าปกติ จึงรับออกซิเจนจากน้ำได้มากกว่า สาเหตุที่กบหนังห้อยจัดเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ขั้นวิกฤติเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมปนเปื้อน และการล่าสัตว์ที่เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง นอกจากนี้ชาวเปรู ยังนิยมนำกบชนิดนี้ไปเป็นส่วนประกอบสำคัญในน้ำปั่นเพื่อสุขภาพในแบบฉบับของเปรูที่เรียกว่า “ฮูโก เดอ รานา” หรือ “น้ำปั่นกบ” โดยอวดอ้างสรรพคุณช่วยเพิ่มความกระชุ่มกระชวยและความแข็งแรง แต่ในความเป็นจริงยังไม่มีหลักฐานรองรับตามที่กล่าวอ้างจริง เมื่อเดือนพ.ย. 2558 สวนสัตว์เดนเวอร์ได้จับมือกับมหาวิทยาลัยกายาตาโน เอเรเดียของเปรูและสวนสัตว์ฮัวชิปาโดยนำกบหนังห้อยโตเต็มวัยจำนวน 20 ตัวมาไว้ที่โคโลราโด ทอม วีฟเวอร์ ผู้ช่วยภัณฑารักษ์สัตว์เลื้อยคลานและปลาจากสวนสัตว์เดนเวอร์ ซึ่งเป็นสถาบันทางซีกโลกเหนือเพียงแห่งเดียวที่ดูแลกบหนังห้อย ระบุว่า ทีมงานได้ข้อมูลเชิงลึกของกบหนังห้อยจำนวนมากนับตั้งแต่ได้รับมา จึงรู้สึกภาคภูมิใจอย่างยิ่งที่แบ่งปันข้อมูลเหล่านั้นได้ สวนสัตว์เดนเวอร์ ระบุว่า ลักษณะผิวหนังของกบหนังห้อยทำให้มันมีชื่อเล่นที่ไม่ค่อยน่าพิสมัยเรียกว่า “กบถุงอัญฑะน้ำ” และว่า กบชนิดนี้ยังเป็นพาหะเชื้ออหิวาห์ตกโรคอีกด้วย ลูกอ๊อดส่วนใหญ่นำมาจัดแสดงในสวนสัตว์เดนเวอร์ เมื่อเติบโตเป็นกบแล้ว บางส่วนยังอาศัยอยู่ในสวนสัตว์แห่งนี้ ขณะที่อีกหลายตัวถูกส่งไปยังสถาบันที่ได้รับการรับรอง ก่อนที่สวนสัตว์เดนเวอร์จะได้รับกบหนังห้อย นับเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้วตั้งแต่ที่มีสวนสัตว์ในสหรัฐจัดหาที่อยู่อาศัยให้มัน แมตต์ เฮอร์เบิร์ต ผู้อำนวยการการศึกษาเชิงอนุรักษ์ของสวนสัตว์เดนเวอร์ บอกว่า งานที่นี่คือการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับกบชนิดนี้ให้แก่นักท่องเที่ยวเด็ก ๆ คมชัดลึกออนไลน์ 12.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร