Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สารในบล็อกโคลี่ช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้  

อดีตประธานาธิบดีจอร์จ เอช ดับเบิ้ลยู บุช เคยกล่าวตอนที่เป็นผู้นำสหรัฐฯ ว่าเขาไม่ชอบบล็อกโคลี่เลย ไม่ชอบมาตั้งเเต่เล็กๆ เขาเคยถูกคุณเเม่บังคับให้รับประทานตอนเป็นเด็ก เเต่เมื่อเขาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐเเล้ว เขาจะไม่ยอมรับประทานบล็อกโคลี่อีกต่อไป แต่ผลการศึกษาชิ้นล่าสุดเกี่ยวกับประโยชน์ของผักบล็อกโคลี่อาจจะทำให้อดีตผู้นำสหรัฐฯ ผู้นี้เปลี่ยนใจก็ได้ นักวิจัยชี้ว่าผัก บล็อกโคลี่มีสารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ซัลเฟอร์ราเฟน (sulforaphane) ซึ่งในการทดลองหลายครั้งกับคน พบว่ามีประสิทธิภาพในการลดระดับน้ำตาลในเลือดของคนที่เป็นโรคเบาหวานลงได้ดีเท่าๆ กับยาเม็ทฟอร์มิน (metformin) ผลการศึกษานี้อาจกลายเป็นข่าวดีสำหรับคนส่วนใหญ่ที่เป็นโรคเบาหวานประเภทที่สองทั่วโลกที่ใช้ยาเม็ทฟอร์มินไม่ได้ เพราะยาอาจเป็นอันตรายต่อตับและกระทบต่อระบบย่อยอาหาร ด็อกเตอร์แอนเดอร์ส โรเซ็นเกร็น ผู้เชี่ยวชาญแห่งศูนย์โรคเบาหวาน มหาวิทยาลัยลุนด์ ในสวีเดน ค้นพบศักยภาพของสารซัลเฟอร์ราเฟนในบล็อกโคลี่ที่มีบทบาทในการควบคุมน้ำตาลในเลือด ด็อกเตอร์โรเซ็นเกร็น กล่าวว่า ทีมงานคิดว่าผลการวิจัยนี้สร้างความตื่นเต้นมาก เพราะตลอดหลายปีที่ผ่านมา มีการอ้างถึงสรรพคุณของอาหารหลายอย่างว่ามีผลดีต่อสุขภาพ แต่ไม่มีหลักฐานมายืนยัน เขากล่าวว่าผลการศึกษาของทีมงานของเขามีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า สารในบล็อกโคลี่มีผลช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดของผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 ได้ผลจริงๆ ในการทดลองรักษาผู้ป่วยเบาหวานนาน 12 สัปดาห์ มีผู้ป่วยเข้าร่วมการวิจัย 97 คนซึ่งเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 ทีมนักวิจัยพบว่าสารซัลเฟอร์ราเฟนช่วยลดระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดลงได้ 10 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ผลการทดลองนี้ตีพิมพ์ในวารสาร Science Translational Medicine ไปเมื่อเร็วๆ นี้ ด็อกเตอร์โรเซ็นเกร็นกำลังวางแผนที่จะทำการทดลองรักษากับคนที่ได้รับการวินิจฉัยว่าอยู่ในช่วงก่อนเป็นโรคเบาหวาน เขากล่าวว่าสารซัลเฟอร์ราเฟนจากบล็อกโคลี่อาจมีผลดีในการควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีขึ้นไปอีก หากอาสาสมัครที่เข้าร่วมในการทดลองรักษาไม่เคยใช้ยาควบคุมเบาหวานเม็ทฟอร์มินมาก่อนเลย อย่างไรก็ตาม ด็อกเตอร์โรเซ็นเกร็นกล่าวว่า การรับประทานผักบล็อกโคลี่จะไม่เพียงพอในการควบคุมอาการเบาหวาน เพราะทีมนักวิจัยชี้ว่าต้องกินสารซัลเฟอร์ราเฟนในรูปของสารสกัดนี้ถึงวันละ 5 กิโลกรัมจึงจะได้ผล ซึ่งหากกินในรูปของผัก จะเป็นไปไม่ได้ แต่จะเป็นไปได้ หากผลิตออกมาในรูปของสารซัลเฟอร์ราเฟนสกัดแบบเม็ด และสำหรับผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่ชอบผักบล็อกโคลี่ การรับประทานสารซัลเฟอร์ราเฟนสกัดเเบบเม็ด น่าจะเป็นทางออกที่ดี Voice of America 19.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร