Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยเกาหลีพัฒนา “กาวติดหนึบ” ได้แรงบันดาลใจจากหนวดหมึก   

นักวิจัยเกาหลีพัฒนาแผ่นกาวที่ติดหนึบทั้งผิวเปียกและเปื้อนน้ำมัน ด้วยแรงบันดาลใจจาก “หนวดหมึก” ซึ่งคาดว่าจะมีศักยภาพต่อยอดในงานทางการแพทย์และอุตสาหกรรมต่อไป ทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยซังคยูนกวาน (Sungkyunkwan University) ในเกาหลีใต้ ติดใจในแรงดูดอันเหนียวแน่นของหนวดหมึก จนนำไปสู่การพัฒนาแผ่นกาวแบบใหม่ที่สามารถใช้งานได้ทั้งบนพื้นผิวที่เปียกและบนพื้นผิวที่เป็นน้ำมัน 2 ปีก่อนเราซื้อหมึกยักษ์จากห้างลอตเต้ แล้วเอาปุ่มดูดจากหนวดหมึกไปส่องดูใต้กล้องจุลทรรศน์ และวิเคราะห์ว่าปุ่มดูดนั้นทำงานอย่างไร” ซังยูล แบค (Sangyul Baik) นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยซังคยูนกวานบอกเอเอฟพี จากการศึกษาปุ่มดูดที่หนวดของหมึกทำให้ทีมวิจัยได้เห็นว่าพลังดูดอันน่าทึ่งนั้น เป็นผลจากก้อนกลมๆ อันเล็กๆ ที่อยู่ภายในปุ่มดูด ซึ่งเรียงกันเป็นแถวไปตามหนวดของหมึก การพัฒนาแผ่นกาวทนเปียกนี้ยังได้รับการเชิดชูจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของเกาหลีใต้ อีกทั้งยังเป็นผลงานที่สร้างความหวังว่าจะได้นำไปใช้งานได้สรรพัดประโยชน์ ตั้งแต่อุตสาหรรมหนักและการตกแต่งบาดแผล ด้าน ศ.จางฮยอน ปัง (Professor Changhyun Pang) สมาชิกทีมวิจัยเผยว่า ทีมวิจัยได้เลียนแบบหนวดหมึกโดยผลิตแผ่นแปะพอลิเมอร์ที่คลุมด้วยปุ่มดูดที่มีแถบดูดทรงพลัง ซึ่งทำให้แผ่นแปะพอลิเมอร์ที่มีขนาดเท่าหัวแม่มือนั้นยึดวัตถุหนักถึง 400 กรัมขึ้นจากน้ำได้ และแผ่นแปะ 1 แผ่นนั้นสามารถใช้งานซ้ำๆ ได้มากกว่า 10,000 ครั้ง แม้จะแปะและดึงออกหลายครั้งก็ไม่ทำให้สูญเสียพลังในการดูด ในรายงานทางวิชาการของทีมวิจัยที่เผยแพร่ทางวารสารเนเจอร์ (Nature) ระบุว่า แผ่นกาวที่ได้แรงบันดาลใจจากหมึกยักษ์นี้แสดงความแข็งแกร่ง มีความสามารถในการยึดติดซ้ำๆ ได้บ่อย ทั้งยึดติดกับซิลิกอน แก้ว หรือพื้นผิวหยาบๆ ที่มีหลายสภาพ ทั้งแห้ง ชื้น มีน้ำหรือน้ำมันอยู่เหนือพื้นผิว ซึ่งทีมวิจัยได้เผยคลิปสาธิตการทำงานของแผ่นแปะทั้งบนพื้นผิวแห้งและเปียก รวมถึงผิวหนังมนุษย์ด้วย สำหรับแผ่นแปะนี้ ศ.ปังระบุว่า สามารถใช้งานได้ทั้งในด้านการแพทย์รวมถึงใช้ประสานรอยแผล และเนื่องจากแผ่นแปะดังกล่าวไม่ได้ผสมกาวเคมีจึงไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้ พร้อมทั้งเสริมว่าตอนนี้ยังไม่มีระบบกาวใดๆ ที่ยังคงการยึดติดได้ในน้ำโดยไม่ใช้สารเคมีแรงๆ โดยทีมวิจัย ผู้จัดการออนไลน์ 19.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร