Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อุกกาบาตหายากในเนเธอร์แลนด์อาจเผยปมกำเนิด “ระบบสุริยะ”   

นักวิทยาศาสตร์ดัตช์พบว่าอุกกาบาตตกใส่หลังคาบ้านคนในเนเธอร์แลนด์เมื่อต้นปีและมีอายุราว 4.5 ล้านปีนั้น อาจเก็บงำร่องรอยกำเนิดระบบสุริยะของเราไว้ ผู้เชี่ยวชาญชี้ไม่บ่อยที่จะเจออุกกาบาตอายุขนาดนี้ อุกกาบาตดังกล่าวตกทะลุหลังคาบ้านคนในเมืองโบรกเมืองเล็กๆ ในวอเตอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ เมื่อ 11 ม.ค.2017 คาดว่าอุกกาบาตลูกเท่ากำปั้นที่หนักประมาณ 500 กรัมนี้ น่าจะพุ่งชนหลังคาด้วยความเร็วพอๆ กับรถไฟความเร็วสูง และเช้าหลังอุกกาบาตชาวเมืองได้ค้นพบอุกกาบาตดังกล่าวใต้กองไม้ของหลังคาที่แตกหัก แต่ไม่พบชิ้นส่วนที่แตกกระเด็นออกไป ลีโอ เกรกส์มัน (Leo Kriegsman) จากศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพในเมืองไลเดน เนเธอร์แลนด์ ที่กล่าวว่าอุกกาบาตลูกนี้มีความพิเศษมากเพราะเราไม่มีหินที่มีอายุประมาณนี้บนโลก เอเอฟพีรายงานอีกว่าแม้ว่าจะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกทุกๆ 3-4 ปีในประเทศทางแถบยุโรปเหนือ แต่ก็ยากที่จะหาเจอหินอวกาศขนาดเล็กๆ เพราะหินเหล่านั้นมักตกน้ำไปหมด หรือไม่ก็ถูกกลบบนพื้นป่าทำให้ยากจะแยกออก เกรกส์มันกล่าวว่าเป็นเรื่องน่าตื่นเต้นมาที่เจ้าของบ้านติดต่อทีมของเขาเข้ามาบอกเกี่ยวกับการพบอุกกาบาต ซึ่งเป็นอุกกาบาตลูกที่ 6 ที่พบในเนเธอร์แลนด์ในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา ซึ่งลูกสุดท้ายก่อนหน้านี้พบเมื่อปี 1990 เราสามารถเรียนรู้จากอุกกาบาตนี้ว่าเกิดอะไรขึ้นในช่วงเริ่มต้นใหม่ๆ ของระบบสุริยะ เมื่อมีเมฆหมอกดวงดาวที่ยุบตัวลงและแร่ธาตุก็เริ่มก่อตัว ซึ่งวัตถุอวกาศเริ่มก่อตัวเป็นดาวเคราะห์เป็นครั้งแรก ดังนั้น อุกกาบาตนี้จะให้ข้อมูลเราว่าเกิดอะไรขึ้นในช่วงแรกเริ่มเมื่อโลกก่อกำเนิด” เกรกส์มันกล่าว เกรกส์มันประเมินว่า อุกกาบาตลูกนี้อาจมาจากบริเวณระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ซึ่งเป็นตำแหน่งที่มีแถบดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยหินและดาวเคราะห์น้อยที่โคจรไปรอบๆ และในบางครั้งก็หลุดออกจากวงโคจร กว่าที่นักวิชาการศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพของไลเดนจะออกมาเผยข้อมูลก็หลังจากได้ทดสอบอุกกาบาตก้อนนี้อย่างเข้มงวดแล้ว โดยเกรกส์มันให้เหตุผลว่า พวกเขาต้องการแน่ใจ 100% ว่าอุกกาบาตลูกนี้เป็นชนิดใด ดังนั้นจึงต้องค้นคว้าบางอย่างก่อน อุกกาบาตลูกนี้ได้รับการจำแนกว่าเป็นประเภทแอล 6 ครอนไดท์ ซึ่งคอนข้างเป็นประเภทที่พบได้ทั่วไป แต่เกรกส์มันกล่าวว่า อุกกาบาตทุกลูกมีความสำคัญต่อองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ และพื้นที่ที่พบอุกกาบาตได้มากอย่างแอนตาร์กติกาและทะเลทรายซาฮาราก็เสริมองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีอุกกาบาตหลากหลายชนิดจำนวนมาก และเป็นประโยชน์เสมอเมื่อพบอุกกาบาตมากขึ้น แม้ว่าอุกกาบาตเหล่านั้นจะแค่ยืนยันทฤษฎีที่เรามีอยู่แล้วก็ตาม” เกรกส์มันกล่าว โดยเขามีแผนศึกษาร่วมกับนักศึกษาระดับปริญญาโทเพื่อประเมินถึงดาวเคราะห์ในยุคแรกเริ่มให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ผู้จัดการออนไลน์ 29.06.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร