Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

แพทย์จุฬาฯชี้WHOชม‘ไทย’จัดการมะเร็งได้ดี  

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เผยองค์การอนามัยโลกยกย่อง ‘ไทย’ จัดการมะเร็งได้ดีที่สุด ปัจจัยความสำเร็จมาจากกลไกการต่อรองราคายา ศ.นพ.อิศรางค์ นุชประยูร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง กล่าวว่า หลักการของแพทย์ทุกคนก็คือต้องการรักษาคนไข้ให้ดีที่สุด ส่วนตัวเป็นแพทย์รักษาโรคมะเร็งที่สามารถทำตามเป้าหมายนั้นได้ แต่ก็ยังมีแพทย์อีกบางส่วนที่ต้องการรักษาคนไข้ให้หายเช่นกัน แต่สาเหตุที่ทำไม่สำเร็จเนื่องจากโรงพยาบาลมีข้อจำกัด คำถามก็คือแล้วจะทำอย่างไรเพื่อให้ผู้ป่วยทุกคนได้รับการรักษาเหมือนกันหมด ยกตัวอย่าง ในอดีตยามะเร็งในเด็กที่ราคาแพงมาก หากมีเงินจ่าย 3 แสนบาท ผู้ป่วยจะมีโอกาสรักษาหายขาดได้ถึง 80% แต่ถามต่อว่าชาวบ้านจะมีเงินจ่ายหรือไม่ จนกระทั่งมีการตั้งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ขึ้นมา มีระบบการส่งต่อและตามจ่าย ก็พบว่าเกิดปัญหาโรงพยาบาลต้นสังกัดไม่ยอมส่งต่อ เนื่องจากค่ารักษาพยาบาลแพงถึงหัวละ 3 แสนบาท ถ้าจะรักษาด้วยวงเงิน 1 แสนบาท อัตราการรอดชีวิตจะอยู่เพียง 20% ของผู้ป่วยทั้งหมด นั่นคือความไม่คุ้มค่า จนกระทั่งมาถึงปี 2551 มีการขายไอเดียเรื่องมะเร็งเด็กให้กับ สปสช. เพื่อสร้างมาตรฐานการรักษาให้เหมือนกันทุกโรงพยาบาล หากโรงพยาบาลใดรักษาตามเกณฑ์นี้ก็จะได้เงินจาก สปสช. นั่นจึงเป็นจุดเริ่มต้นให้เด็กไทยได้รับการรักษาเหมือนกันหมด” ศ.นพ.อิศรางค์กล่าว ศ.นพ.อิศรางค์กล่าวว่า ในส่วนของมะเร็งผู้ใหญ่ เมื่อพูดถึงโรคมะเร็งมีมากถึงหลายร้อยโรค ซึ่งทั้งหมดรักษาไม่เหมือนกัน และโอกาสหายจากโรคก็แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ฉะนั้นในการดูแลมะเร็งจึงให้ความสำคัญกับความคุ้มค่าในการรักษา ส่วนตัวได้คุยกับ สปสช.ว่าเราไม่ได้รักษาทุกโรค เพราะนั่นเป็นการหาเสียงของรัฐบาลยุคนั้น แต่เราต้องมีหลักประกันให้กับทุกคน อะไรที่รักษาได้ก็รักษา อะไรที่รักษาไม่ได้ก็ไม่ต้องรักษา เพราะต้องยอมรับว่ามีโรคที่ถึงจะจ่ายหนึ่งแสน หรือหนึ่งล้าน ก็ต้องตายอยู่ดี โดยโรคใดที่รักษาได้หรือรักษาไม่ได้จำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญประเมิน ภายใต้หลักการคือทุกคนต้องมีหลักประกันและเข้าถึงบริการ ศ.นพ.อิศรางค์กล่าวอีกว่า ประเทศไทยได้รับคำชื่นชมจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ว่าเป็นประเทศที่จัดการโรคมะเร็งได้ดีที่สุด สำหรับเหตุผลที่ WHO ชื่นชม ประกอบด้วย 1.ประชาชนทุกคนเข้าถึงการรักษามะเร็งทั้งหมด 2.ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการต่ำมาก 3.ประชาชนเข้าถึงยารักษาได้อย่างแท้จริง โดยความสำเร็จดังกล่าวเกิดขึ้นได้ เพราะเรามีสถิติและข้อมูลทะเบียนราษฎรที่แข็งแรง มากไปกว่านั้นก็คือมีแนวทางและมาตรฐานการรักษา ว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ แต่เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ WHO ให้ความสนใจกับการได้มาซึ่งยา เรามีระบบการต่อรองราคายารวม ซึ่งทำให้ราคายาลดลงมาได้จำนวนมาก โดยเฉพาะยาราคาแพงที่พบว่าประเทศที่เข้าถึงได้ คือประเทศที่มีความสามารถในการต่อรองราคายาเท่านั้น ซึ่งหลายประเทศยังไม่กล้าทำ ประชาชนของเขาจึงเข้าไม่ถึงยา” ศ.นพ.อิศรางค์กล่าว. Thaipost 3.07.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร