Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

กูรูเทคโนโลยีเตือน “หุ่นยนต์” เสี่ยงถูกแฮ็ก  

ในระหว่างที่ทั่วโลกกำลังหวาดกลัวและเตรียมรับมือกับแฮกเกอร์ที่ลักลอบเจาะเข้าระบบและทำลายฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของบริษัทเอกชนหรือองค์กรระดับประเทศ ล่าสุดผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีได้ออกมาเตือนว่า อุปกรณ์ผู้ช่วยปัญญาประดิษฐ์ ที่อยู่ใกล้ตัวทั้งตามภาคบริการและภายในบ้าน มีความเสี่ยงที่จะถูกเจาะระบบได้มากเช่นกัน เจ้า “ทรอยก้า” หุ่นยนต์พนักงานต้อนรับ ที่คอยช่วยเหลือและให้ข้อมูลแก่ผู้โดยสารในสนามบินนานาชาติอินชอน ของเกาหลีใต้ คือ ตัวอย่างของหุ่นยนต์ที่อยู่รอบตัวเราในหลายมิติของชีวิตมนุษย์ยุคปัจจุบัน เช่นเดียวกับหุ่นยนต์รุ่นใหม่ที่พร้อมประจำการในโรงพยาบาล ซึ่งถูกคาดหวังว่าจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ ในการช่วยทีมแพทย์ผ่าตัดได้อย่างแม่นยำเหมือนจับวาง เครื่องจักรเหล่านี้ต้องพึ่งพาการป้อนรหัสคำสั่งจากนักประดิษฐ์และโปรแกรมเมอร์ ในขณะเดียวกัน หุ่นยนต์จำนวนมากอาจตกอยู่ในการควบคุมของเหล่าแฮกเกอร์ได้ด้วย คาร์สเทน เมเปิ้ล อาจารย์จากมหาวิทยาลัย Warwick บอกว่า การที่หุ่นยนต์อาจถูกคุกคามจากแฮกเกอร์นั้น เป็นสิ่งที่นักออกแบบหุ่นยนต์ต้องคำนึงถึงก่อนเสมอ แทนที่จะเข้ามาแก้ปัญหาเมื่อถูกเจาะระบบไปแล้ว เพราะเขาเชื่อว่าจะเกิดการโจมตีอีกหลายต่อหลายครั้งผ่านระบบเหล่านี้แน่นอน ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี เชื่อว่าการป้องกันที่ดีไม่ได้มาจากเทคโนโลยีรูปแบบเดียว ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้ประดิษฐ์หุ่นยนต์และชิ้นส่วนอื่นๆ ตั้งแต่ขั้นตอนวางแผนและมาตรการป้องกันการเจาะระบบจากภายนอก คริสต์ เมลฮูอิช อาจารย์จากมหาวิทยาลัย Bristol บอกว่า เมื่อเราค่อยๆสร้างเทคโนโลยีนี้ขึ้นมาพร้อมกันเป็นหุ่นยนต์หนึ่งตัว ที่จะเป็นโครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะ ทุกส่วนประกอบจะต้องปลอดภัยเพียงพอ และนั่นเป็นที่มาของการร่วมกันสร้างระบบป้องกันแบบบูรณาการ หนึ่งในวิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันระบบคอมพิวเตอร์จากการโจมตีของแฮกเกอร์ คือ การอุดช่องว่างไม่ให้สามารถเจาะระบบเข้ามาในหน่วยความจำของเครื่องได้ เมื่อไหร่ก็ตามที่ข้อมูลพื้นฐานได้รับการป้องกัน แฮกเกอร์จะสามารถเข้าถึงได้เพียง Dumb Terminal หรือ เทอร์มินัลคอมพิวเตอร์ที่ทำได้เพียงเก็บข้อมูลแต่ไม่มีศักยภาพในการประมวลผล ปัจจุบัน หลายบริษัทเริ่มมองเห็นประโยชน์มหาศาลในการลงทุนป้องกันภัยจากโลกไร้สาย เพื่อตัดไฟแต่ต้นลมจากการโจมตีไซเบอร์รอบใหม่ในอนาคตที่ยากต่อการคาดเดาได้ Voice of America 7.07.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร