Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

“ยุง” พยานเอกตัวใหม่ในเหตุอาชญากรรม  

ต่อให้ผู้ก่อเหตุอาชญากรรมระมัดระวังไม่ให้มีร่องรอยที่จะกลายเป็นหลักฐานมัดตัว ทั้งก่อเหตุในที่ไม่มีผู้พบเห็น ไม่ทิ้งรอยนิ้วมือ รอยเท้าหรือแม้แต่เส้นผม ทว่าเลือดในตัวยุงบริเวณที่เกิดเหตุสามารถระบุตัวคนร้ายได้ อนาคตยุงอาจเป็นพยานหลักฐานตัวใหม่ในคดีอาชญากรรม โดยเอเอฟพีได้รายงานการศึกษาของทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยนาโกยา (Nagoya University) ในญี่ปุ่น ที่ตีพิมพ์ลงวารสารพลอสวัน (PLOS ONE) ซึ่งได้เผยให้เห็นว่า เลือดคนที่สกัดได้จากยุงนั้นสามารถบ่งชี้เจ้าของเลือดได้ภายใน 48 ชั่วโมงหลังถูกยุงกัด เทคนิคนี้จะช่วยให้ตำรวจหาคำตอบได้ว่าใครอยู่ในเหตุอาชญากรรม ในอนาคตอาจจะเป็นหลักฐานที่ใช้เป็นหลักฐานมัดตัวผู้กระทำผิด” โทชิมิชิ ยามาโมโตะ (Toshimichi Yamamoto) นักวิทยาศาสตร์หลักในการศึกษาครั้งนี้แถลง ทั้งนี้ไม่มีใครทราว่าเลือดคนที่เก็บไว้ในตัวยุงนั้นจะคงข้อมูลดีเอ็นเอที่ใช้จำแนกบุคคลได้นานแค่ไหน ดังนั้น ยามาโมโตะและทีมนักนิติวิทยาศาสตร์จึงตัดสินใจหาคำตอบนี้ โดยเอาเลือดออกจากยุงที่กินเลือดอาสาสมัคร แล้วทดสอบด้วยเทคนิคปฏิกิริยาสายโซ่พอลิเมอเรส (polymerase chain reaction) หรือเรียกสั้นๆ ว่า เทคนิคพีซีอาร์ (PCR สำหรับเทคนิคพีซีอาร์นั้นเป็นเครื่องมือมาตรฐานในงานนิติวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มจำนวนชิ้นส่วนดีเอ็นเอให้มากขึ้นเป็นหลายพันเท่า ซึ่งนักวิจัยพบว่าพวกเขาสามารถตามร่องรอยเลือดคนจากยุงได้ตรงกับเลือดของอาสาสมัครที่สละเลือดตัวเองให้เป็นอาหารยุง แม้ว่ายุงจะดูดเลือดนั้นไปนานถึง 2 วันแล้วก็ตาม แต่เมื่อผ่านไป 3 วันเลือดก็ถูกย่อยแล้ว สำหรับยุงที่ใช้ในการทดลองนั้นมี 2 สายพันธุ์คือ คูเลกซ์ ไพเพียนส์ พอลเลนส์ (Culex pipiens pallens) และ เอเดส อัลโบพิคตัส (Aedes albopictus) ซึ่งทั้งสองสายพันธุ์พบมากในเขตร้อน (tropical) และเขตกึ่งร้อน (sub-tropical) เราหวังว่านี่จะช่วยหน่วยสืบสวนงานอาชญากรรมเก็บรวบรวมหลักฐานที่เชื่อถือได้” ยามาโมโตะระบุ และบอกด้วยว่าหากวิจัยต่อไปอาจจะถึงขั้นระบุได้ชัดเจนว่ายุงเริ่มดูดเลือดจากคนที่อยู่บริเวณเกิดเหตุอาชญากรรมเมื่อไร ทั้งนี้ ยุงส่วนใหญ่จะบินหากินในรัศมีไม่กี่ร้อยเมตรโดยขึ้นอยู่กับชนิดของยุงนั้นๆ โดยมีช่วงอายุยืนยาวตั้งแต่เพียงไม่กี่วันไปจนถึง 2-3 เดือน และโดยทั่วไปยุงตัวเมียซึ่งดูดเลือดเป็นอาหารนั้นจะมีชีวิตยืนยาวกว่ายุงตัวผู้ ผู้จัดการออนไลน์ 11.07.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร