Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

หลักสูตรห้องเรียนเสมือนจริงผ่านแว่น VR   

เทคโนโลยีที่พัฒนาได้ช่วยทั้งด้านการทำงานและการศึกษา หนึ่งในนั้น คือ แว่นที่ใช้ฉายภาพเสมือนจริง หรือ วีอาร์ ที่เข้ามามีบทบาทในห้องเรียน ด้วยการจำลองสภาพแวดล้อมเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กๆได้มากขึ้น มาร์เจ ฟลาวเวอร์ส และเชลบี้ บูแคแนน อธิบายบรรยากาศในแหล่งอนุรักษ์ธรรมชาติบนโลกเสมือนจริง ที่พวกเขาเห็นผ่านแว่นตาวีอาร์ ฉากที่เห็นทั้งหมดนั้น ถูกเรียกว่า Victory Virtual Reality System ของบริษัท Victory Enterprise ซึ่งยกสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติมาไว้ในห้องเรียนให้พวกเขา โดยไม่ต้องออกเดินทางไปไหนไกล เชลบี้ บอกว่า เธอชอบบรรยากาศที่เด็กชายและเด็กหญิง 2 คนในภาพจำลองเสมือนจริง พูดคุยเรื่องงูและเต่า ที่เธอไม่ค่อยได้เห็นในชีวิตจริงเท่าไหร่นัก และบรรยากาศรอบๆในภาพเสมือนจริงทำให้รู้สึกเหมือนเธออยู่ที่นั่นกับเด็กๆทั้ง 2 ด้วย สตีฟ กรับบ์ส ซีอีโอของ Victory Enterprise บอกว่า ปัจจุบันนักเรียนอเมริกันไม่ผ่านมาตรฐานวิชาวิทยาศาสตร์ ดังนั้น การบรรจุหลักสูตรห้องเรียนเสมือนจริงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับนักเรียนที่ต้องการเพิ่มการเรียนรู้นอกตำรา เพราะสามารถแบ่งเวลาว่างมาเรียนรู้เรื่องนี้ได้ง่าย เพียงแค่ใส่แว่นตาวีอาร์เท่านั้น เมื่อเด็กรู้สึกกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์นี้แล้ว ก็เปิดทางให้พวกเขาเสาะหาข้อมูลเพื่อเพิ่มพูนความรู้ต่อไปได้ ขณะที่การเรียนผ่านแว่นวีอาร์ ก็เป็นห้องเรียนที่ปลอดภัยกว่า เพราะบนโลกเสมือนจริงไม่มีใครบาดเจ็บจากการหยิบจับสารเคมีในห้องทดลองวิทยาศาสตร์แน่นอน ห้องเรียนเสมือนจริงของ Victory Virtual Reality System เริ่มหลักสูตรในหลายประเทศทั้งเอเชีย แคนาดา และแถบแคริบเบียน และเตรียมเข้าสู่ระบบการศึกษาของสหรัฐฯในเดือนสิงหาคมนี้ Voice of America 18.07.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร