Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

สดร.ปรับโฉมองค์กรเดินหน้าใช้ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สร้างเทคโนโลยี  

ก้าวสู่ปีที่ 9 สดร.ปรับโฉมองค์กร เปลี่ยนภาพจำองค์กรดูดาวสู่องค์การผู้สร้างเทคโนโลยีโดยใช้ดาราศาสตร์เป็นโจทย์ ตั้งเป้าพัฒนาคน หวังคนไทยพึ่งพาตนเอง ลดการนำเข้าเทคโนโลยี ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) เผยถึงกลยุทธ์ก้าวใหม่ของสถาบันฯ ภายในงาน “NARIT : The Next Step ก้าวต่อไปของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ” ซึ่งชนได้พบผู้เปิดโอกาสให้สื่อมวลชนได้พบผู้บริหาร เมื่อวันที่ 19 ก.ค.60 ณ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยกลยุทธ์ใหม่จะมุ่งใช้ดาราศาสตร์เป็นโจทย์พัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาคน หวังพึ่งพาตนเองได้ในอนาคต ใน 8 ปีที่ผ่านมา สดร. มุ่งมั่นพัฒนาดาราศาสตร์ไทยในทุกด้าน โดยขยายโครงสร้างทางกายภาพทั้วภายในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นการต่อยอดงานวิจัยและเพื่อให้นักวิจัยดาราศาสตร์ไทยสามารถผลิตงายวิจัยได้เทียบเคียงกับนานาชาติและเผยแพร่สู่สาธารณะชน มีการสร้างเครื่อข่ายหอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน ในขณะเดียวกันได้มีการดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารแก่ครู นักเรียนและนักดาราศาสตร์สมัครเล่น เพื่อกระจายโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์ให้เข้าถึงทุกพื้นที่ของประเทศ สำหรับปีที่ 9 ของ สดร. ดร.ศรัณย์กล่าวว่า สถาบันฯ กำลังจะก้าวเข้าสู่เวทีใหม่ในการนำดาราศาสตร์มาเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาคนเพื่อตอบสนองเป้าหมายหลักที่ต้องการผลิตผลงานวิจัยทางด้านดาราศาสตร์ให้เป็นที่ยอมรับในระดับโลก ดังนั้น สดร.จึงหันมาให้ความสำคัญในการออกแบบและสร้างอุปกรณ์เครื่องมือสำหรับวิจัยทางดาราศาสตร์ เพื่อยกระดับงานวิจัยและวิศวกรรม อีกทั้งยังสามารถเป็นผู้ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ระดับสูงด้วยตัวเองเพื่อเป็นการลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ทั้งนี้ การใช้ดาราศาสตร์เป็นโจทย์ในการพัฒนาเทคโนโลยีและพัฒนาคนนั้น ดร.ศรัณย์กล่าวว่า โจทย์ดาราศาสตร์นับเป็นโจทย์ยากที่เป็นความท้าทายความสามารถมนุษย์ เพราะจำเป็นต้องใช้ความรู้จากวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขามาเพื่อเเก้ปัญหาต่างๆ ดังนั้นการพัฒนาเทคโนโลยี จึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อที่จะให้ได้ผลลัพธ์เป็นเทคโนโลยีใหม่ๆ และเกิดการผลักดันให้เกิดการพัฒนากำลังคนและผู้เชียวชาญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื่องจากอนาคตวงการดาราศาสตร์ต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่มันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง ดร.ศรัณย์กล่าวว่า สดร. จึงพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์โดยใช้เทคโนโลยีดาราศาสตร์ขั้นสูง เพื่อรองรับและต่อยอดไปสู่การผลิตในอุตสาหกรรมขั้นสูงของประเทศดังนี้ 1. ห้องปฏิบัติการทัศนศาสตร์ : มีการพัฒนาเทคโนโลยีทางทัศนศาสตร์ เครื่องมืและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อาทิ การออกแบยกล้องโทรทรศ์ ระบบกล้องโทรทรรศน์ถ่ายภาพที่มีกำลังการแยกภาพสูง รวมถึงพัฒนาเครื่องสเปกโตรกราฟที่ใช้ศึกษาสเปกตรัมของวัตถุบนท้องฟ้า 2. ศูนย์ปฏิบัติการหอดูดาวแห่งชาติและวิศวกรรม : สดร. ได้จัดตั้งศูนย์แห่งนี้ขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่พัฒนาและบำรุงกล้องโทรทรรศน์และเครื่องมือวิทยาศาสตร์การให้บริการกล้องโทรทรรศน์แก่นักวิจัยหน่อยงานต่างๆ เช่น การพัฒนาระบบควบคุมกล้องโทรทรรศน์ การพัฒนาทางวิศวกรรมของเครื่อจ่ายกบ้องโทรทรรศน์ การสร้างและการพัฒนาระบบเคลือบกระจกกล้องโทรทรรศน์ ห้องปฏิบัติการขึ้นรูปชิ้นงานความละเอียดสูง การพัฒนาระบบวัดค่าทัศนวิสัยท้องฟ้า 3. ศูนย์ปฏิบัติการดาราศาสตร์วิทยุ : กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาตินั้น ใข้ต้นแบบและพัฒนามาจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุเยเบส เป็นกล้องวิทยุขนาดใหญ่ที่ที่สามารถจับเคลิ่อนในแนวราบและแนวตั้ง ซึ่งกล้องโทรทรรศน์นี้เป็นโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์หลัก เพราะเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับสังเกตการณ์คบื่นวิทยุ ซึ่งมีแหล่งกำเนิดตากเหทวัตถุนอกโลก สัญญาณต่างๆบนชั้นบรรยากาศหรือดาวเทียม เพื่อหาตำแหน่งบนพื้นผิวโลก 4. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ : มีส่วนสำคัญในการเก็บข้อมูลทางดาราศาสตร์ซึ่งมีขนาดใหญ่ (big data) เนื่องจากข้มูลที่ได้มามีจำนวนมากและจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลที่สามารถรองรับความซับซ้อนของจ้อมูลจากหอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ ซึ่งโคางสร้างพื้นฐานด้านระบบคอมพิวเตอร์สมถรรนะสูงและระบบศูนย์ข้อมูลจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับนำมาจัดเก็บ สำรองและช่วยในการสืบค้นอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ การค้นพบองค์ความรู้ใหม่ทางดาราศาสตร์และอวกาศ จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ถ้าไม่มีการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงมารองรับ เมื่อนักดาราศาสตร์ตั้งเป้าหมายในการศึกษาวิจัย ทีมวิศวกรและนักเทคโนโลยีจะร่วมกันพัฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์ ให้สามารถแก้โจทย์ยากๆ เหล่านั้น เป้าหมายในก้าวต่อไปของ สดร. เราจึงจะใช้ดาราศาสตร์เป็นโจทย์ยากเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและพัฒนากำลังคน นับแต่นี้จะเป็นมิติใหม่ของ สดร. ที่จะก้าวสู่เวทีเทคโนโลยีขั้นสูงที่ชัดเจนขึ้น” ดร.ศรัณย์กล่าว ผู้จัดการออนไลน์ 19.07.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร