Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นักวิจัยพบ 'เชื้อเเบคทีเรียสังเคราะห์เเสง' เพิ่มความหวังบำบัดโรคหัวใจ   

ทีมนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดเปิดเผยว่า หลังจากทดลองฉีดเเบคทีเรียที่สังเคราะห์เเสงได้เข้าไปในหัวใจของหนูทดลองที่เป็นโรคหัวใจ และใช้เเสงส่องเข้าไปเพื่อกระตุ้นให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์เเสง ทีมงานสามารถเพิ่มปริมาณออกซิเจนขึ้นในกระเเสเลือดที่นำไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและส่งเสริมการทำงานของหัวใจ โจเซฟ วู ผู้ร่างรายงานผลการวิจัยอาวุโส กล่าวว่า การบำบัดด้วยเเบคทีเรียสังเคราะห์เเสง เป็นระบบการนำแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์หมุนเวียนไปใช้ใหม่ ทีมงานวิจัยฉีดเชื้อเเบคทีเรียพิเศษเข้าไปในหัวใจหนูทดลอง เชื้อเเบคทีเรียใช้พลังงานที่ได้จากเเสงในกระบวนการเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ในหัวใจให้กลายเป็นออกซิเจนผลการศึกษานี้อาจจะช่วยบำบัดผู้ป่วยจำนวนมากที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งเลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอเเละกล้ามเนื้อหัวใจขาดออกซิเจน โจเซฟ วู ผู้เชี่ยวชาญแห่งมหาวิทยาลัยสเเตนฟอร์ด กล่าวว่า ตามธรรมชาติ มนุษย์หายใจออกเป็นเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ พืชและต้นไม้นำแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้เเละผลิตแก๊สออกซิเจนออกมา เมื่อเกิดภาวะหัวใจวาย กล้ามเนื้อหัวใจยังปั้มเลือดอยู่ แต่ในกระเเสเลือดของผู้ป่วยจะมีเเต่เเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไม่มีเเก๊สออกซิเจน ทีมนักวิจัยของเขาจึงเกิดความสงสัยว่า น่าจะมีหนทางนำเซลล์พืชมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดอาการหัวใจวาย ด้วยการนำเซลล์พืชไปไว้ติดกับเซลล์ของหัวใจเพื่อทำหน้าที่ผลิตออกซิเจนจากเเก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในกระเเสเลือดของผู้ป่วย ในตอนเเรก ทีมนักวิจัยได้พยายามใช้เซลล์ผักโขมและผักเคล แต่โครงสร้างคลอโรพลาสต์ ซึ่งเป็นจุดที่เกิดของกระบวนการสังเคราะห์เเสง ยังขาดความความเสถียร ทำให้เซลล์ของผักทั้งสองชนิดดังกล่าวไม่สามารถอยู่รอดได้หากนำออกมาจากพืช โจเซฟ วู กล่าวว่า ทีมงานยังไม่ล้มเลิกความพยายามและได้หันไปทดลองใช้เชื้อเเบคทีเรียที่สังเคราะห์เเสงได้ที่ชื่อว่า cyanobacteria เนื่องจากเชื้อเเบคทีเรียชนิดนี้มีความทนทานมากกว่าเซลล์พืช และสามารถอยู่รอดได้เมื่อนำไปใส่ไว้กับเซลล์หัวใจในจานทดลอง หลังจากนั้น โจเซฟ วู และทีมนักวิจัย ได้ทดลองฉีดเชื้อเเบคทีเรียสังเคราะห์เเสงชนิดนี้เข้าไปในหัวใจที่กำลังเต้นอยู่ของหนูทดลองที่ถูกวางยาสลบ เเละทำการเปรียบเทียบปริมาณแก๊สออกซิเจนในหัวใจของหนูทดลองกลุ่มที่ได้รับเเสงส่องไปที่หัวใจหลังจากได้รับการฉีดเชื้อเเบคทีเรียสังเคราะห์แสง กับหนูอีกกลุ่มหนึ่งที่ได้รับเชื้อเเบคทีเรียแต่ไม่ได้รับเเสงส่องไปที่หัวใจ

ทีมนักวิจัยพบว่า หนูทดลองกลุ่มที่ได้รับแสงส่องไปที่หัวใจหลังจากได้รับการฉีดเชื้อเเบคทีเรียสังเคราะห์เเสง ได้มีระดับเเก๊สออกซิเจนมากกว่าและหัวใจทำงานได้ดีกว่า หัวหน้าทีมนักวิจัยกล่าวเสริมด้วยว่า เชื้อเเบคทีเรียจะหายไปภายในเวลา 24 ชั่วโมงและหัวใจจะทำงานได้ดีขึ้นนานอย่างน้อย 4 สัปดาห์ เเต่เขากล่าวว่ายังถือว่าเป็นผลการทดลองขั้นต้นเท่านั้น Voice of America 24.07.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร