Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

ใช้ยีนบำบัดรักษาสุนัขกล้ามเนื้อเสื่อมก่อนรักษาในคน  

“โรคกล้ามเนื้อลีบดูเชน” พบในเด็กโดยโรคจะทำลายกล้ามเนื้อของผู้ป่วยและทำให้อายุสั้น ซึ่งพบว่าในจำนวนเด็กผู้ชาย5,000 คนจะมีเด็กที่เจ็บป่วยจากโรคนี้ 1 คน แต่จากการทดลองใช้ยีนบำบัดในสุนัขพบว่า สามารถควบคุมอาการของโรคได้ ซึ่งเป็นความหวังที่จะรักษาในคนต่อไป งานวิจัยซึ่งตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์คอมมูนิเคชันส์ (Nature Communications) เผยว่าอาการของสุนัขซึ่งเป็นโรคกล้ามเนื้อลีบดูเชน (Duchenne muscular dystrophy: DMD) ที่ได้รับการฉีดยีนบำบัดเพียงครั้งเดียวเมื่อ 2 ปีก่อนนั้นยังมีสุขภาพที่ดีอยู่ ความสำเร็จของการรักษาโรคดังกล่าวในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่นี้ ถือเป็นก้าวสำคัญในการหาวิธีรักษาเด็กที่ป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้อลีบดูเชน และยังปูทางไปสู่การทดลองทางการแพทย์ในมนุษย์ต่อไป โรคกล้ามเนื้อลีบดูเชนเกิดจากการกลายพันธุ์ของยีนที่ไปรบกวนการสร้างโปรตีนดิสโทรฟิน (dystrophin) ซึ่งเป็นโปรตีนสำคัญในการสร้างกล้ามเนื้อที่แข็งแรง ทีมวิจัยนานาชาติจึงได้พัฒนาวิธีการนำส่งยีนบำบัดแบบใหม่เพื่อฟื้นฟูการแสดงออกของยีนสร้างโปรตีนดิสโทรฟินในสุนัขที่ป่วยด้วยโรคนี้ ทีมวิจัยได้ฉีด “ไมโครดิสโทรฟิน” ซึ่งเป็นยีนดิสโทรฟินที่ถูกบีบอัดแล้วให้แก่สุนัขที่เป็นโรค โดยยีนดิสโทรฟินนั้นเป็นหนึ่งในยีนขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกายมนุษย์ ซึ่งมีคู่เบสรหัสพันธุกรรมมากถึง 2.3 ล้านคู่ และหากไม่บีบอัดยีนก่อนก็ไม่สามารถบรรจุยีนดิสโทรฟินเข้าสู่ไวรัสที่ผ่านการเอารหัสพันธุกรรมออก เพื่อใช้เป็นพาหะในการถ่ายโอนยีนที่ได้ผ่านการตัดต่อให้แก่ผู้ป่วยได้ สุนัขที่ได้รับการรักษาแสดงสัญญาณการฟื้นฟูของกระบวนการทำงานของกล้ามเนื้อ และแสดงอาการควบคุมโรคได้ในระยะเวลามากกว่า 2 ปีหลังจากที่สุนัขได้รับการฉีดยีนบำบัด” ทีมวิจัยแถลง ด้าน ดาเรน กริฟฟิน (Darren Griffin) นักพันธุศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเคนต์ (University of Kent) ให้ความเห็นต่อการศึกษานี้ว่าเป็นการศึกษาที่น่าตื่นเต้นอย่างยิ่ง และกล่าวผ่าน ศูนย์สื่อสารวิทยาศาสตร์ (Science Media Centre) ว่าโรคนี้เป็นเป้าหมายของการใช้ยีนบำบบัดมานานแล้ว และได้เพียงแค่หวังว่าจะมีทุนวิจัยก้อนใหญ่เพียงพอเพื่อให้งานวิจัยได้ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์และเข้าสู่การทดลองระดับคลีนิคอย่างเต็มรูปแบบ เมื่อเด็กผู้ชายป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้อลีบดูเชนจะเริ่มมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงตั้งแต่ปีแรกและโดยทั่วไปต้องนั่งเก้าอี้รถเข็นหรือวีลแชร์ตั้งแต่อายุไม่ถึง 15 ปี จากนั้นจะมีปัญหาเรื่องการสูญเสียกล้ามเนื้อ ปัญหาการหายใจและหัวใจตามมา และพบไม่บ่อยที่ผู้ป่วยจะรอดชีวิตไปจนถึงอายุ 40 ปี ผู้จัดการออนไลน์ 26.07.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร