Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

อย.ยัน “สารกันเสีย” ในเครื่องสำอางไม่อันตราย หากไม่เกินค่ามาตรฐาน  

        อย. ยัน “สารกันเสีย” ในเครื่องสำอางไม่เป็นอันตราย หากส่วนผสมไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด เว้นสารกลุ่มพาราเบน 5 ตัวที่ก่อให้เกิดมะเร็ง ห้ามใส่เด็ดขาด เตือนผู้ที่ผิวแพ้ง่ายอ่านฉลากก่อนเลือกซื้อ
            ภก.สมชาย ปรีชาทวีกิจ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กลาาวว่า ตามที่มีการส่งต่อข้อมูลเรื่องสารตกค้างในผลิตภัณฑ์ดูแลผิว 4 ชนิด ได้แก่ ไตรโคลซาน เมทิลไอโซไทอะโซลิโนน พาราเบน และ โซเดียมลอริลซัลเฟต เป็นสารที่ต้องระวัง เนื่องจากอาจก่อให้เกิดอันตรายนั้น อย. ได้มีการทบทวนติดตามมาตรฐานการใช้ของสารดังกล่าว ซึ่งจัดเป็นสารกันเสีย เนื่องจากยังอนุญาตให้ใช้ในเครื่องสำอางได้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง วัตถุกันเสียที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 มิ.ย. 2560 ซึ่งในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนและสหภาพยุโรปก็ได้กำหนดปริมาณและเงื่อนไขการใช้เช่นเดียวกับประเทศไทย โดยกำหนดชนิดและความเข้มข้นสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ได้
              ภก.สมชาย กล่าวว่า สารไตรโคลซานเป็นสารกันเสียในความเข้มข้นไม่เกิน 0.3% ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ใช้แล้วล้างออก เช่น ยาสีฟัน สบู่เหลว แชมพู ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดเล็บก่อนทำเล็บเทียม ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิวหน้า ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกาย แป้งทาหน้า และผลิตภัณฑ์ปกปิดริ้วรอยเฉพาะที่ (Blemish concealers) ในกรณีที่ใช้ในช่องปากจะใช้ได้ไม่เกิน 0.2% ส่วนสารกลุ่มพาราเบน แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ สารพาราเบนที่มีความเสี่ยงสูงอาจก่อให้เกิดมะเร็ง ได้แก่ สารไอโซโพรพิลพาราเบน ไอโซบูทิลพาราเบน ฟีนิลพาราเบน เบนซิลพาราเบน และ เพนทิลพาราเบน ซึ่งได้ถูกจัดให้เป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางแล้ว และสารพาราเบนตัวอื่นๆ ที่จัดเป็นสารกันเสียตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ใช้ได้ตามปริมาณและเงื่อนไขที่กำหนดเท่านั้น
              “สำหรับกรณีของสารโซเดียม ลอริล ซัลเฟต จัดเป็นสารที่ใช้ทำความสะอาดชำระสิ่งสกปรก เป็นสารลดแรงตึงผิว และทำให้เกิดฟองในเครื่องสำอาง สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และ อาเซียน ได้อนุญาตให้ใช้ในเครื่องสำอางมาเป็นเวลานานแล้ว ปัจจุบันยังมีการใช้ได้ซึ่งไม่ควรเกิน 15% สำหรับผู้บริโภคที่ผิวแพ้ง่ายอาจพิจารณาส่วนผสมจากฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อหลีกเลี่ยงสารดังกล่าว ทั้งนี้ ขอเตือนผู้บริโภคขอให้ระมัดระวังการซื้อเครื่องสำอาง หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอื่นๆ โดยดูฉลากผลิตภัณฑ์และสูตรส่วนประกอบ ทางด้านของผู้ผลิตและจำหน่ายขอให้ประกอบการอย่างมีคุณธรรม อย่าเห็นแก่ผลกำไร หรือหลอกลวงผู้บริโภคไม่ว่าจะช่องทางใดก็ตาม หาก อย. ตรวจพบสารห้ามใช้ หรือสารที่ผสมเกินปริมาณที่กำหนด จะต้องถูกดำเนินคดีทางกฎหมายอย่างเด็ดขาด” รองเลขาธิการ อย. กล่าว

 

ผู้จัดการออนไลน์ 3.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร