Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

นาซ่าพัฒนาระบบนำทางจีพีเอสที่ใช้สัญญาณจาก 'ดาวนิวตรอน'  

      การส่งยานอวกาศขนส่งสินค้า Dragon ไปยังสถานีอวกาศนานาชาติเมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา อาจถือได้ว่าเป็นการใช้ระบบนำทางผ่านสัญญาณระหว่างดวงดาวเป็นครั้งเเรกในประวัติศาสตร์ของการวิจัยทางอวกาศ

      ยานอวกาศขนส่งสินค้า Dragon นอกจากจะบรรทุกอาหารไปส่งยังสถานีอากาศนานาชาติแล้ว ยังนำกล้องส่องดูดาวตัวพิเศษขึ้นไปด้วยเรียกว่า Neutron Star Interior Composition Explorer หรือ NICER ซึ่งจะใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ดาวนิวตรอนที่ลึกลับดวงต่างๆ ในอวกาศ

      ดาวนิวตรอนเหล่านี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางราว 15 – 20 กิโลเมตร แต่มีมวลสูงกว่าดวงอาทิตย์ที่โลกเราโคจรรอบๆ ถึงสองเท่าตัว ทำให้ปริมาณสสารของดาวนิวตรอนเพียงเเค่หนึ่งช้อนชามีน้ำหนักมากถึง 10 ล้านตันทีเดียว

        ซาเว่น อาร์โซมาเนี่ยน รองหัวหน้าทีมนักวิจัยโครงการกล้องสำรวจดาวนิวตรอน NICER กล่าวว่า "ด้วยความหนาเเน่นในระดับนี้ เราไม่รู้เลยว่าสสารของดาวนิวตรอนมีลักษณะอย่างไร เราไม่รู้ว่าสสารของดาวนิวตรอนเป็นวัสดุอะไรและดาวนิวตรอนเกิดจากอะไร นักวิทยาศาสาตร์ไม่รู้ว่ามีอะไรอยู่ภายในดาวนิวตรอน"

          เเต่ดาวนิวตรอนเหล่านี้มีคุณลักษณะที่น่าสนใจเเละอาจจะเป็นประโยชน์ กล่าวคือ ขั้วเหนือเเละใต้ของดาวนิวตรอน มีการแผ่รังสีคลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้ากำลังสูงออกมาเป็นจังหวะ ในขณะที่ดาวนิวตรอนหมุนรอบตัวเองเร็วมากด้วยความเร็วที่คงที่

          เราจะสามารถมองเห็นลำเเสงรังสีนี้ก็ต่อเมื่อคลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกมาจากดาวนิวตรอนส่องมายังทิศทางของโลกเราเท่านั้น ซึ่งเรียกว่า "ปรากฏการณ์ประภาคาร"

          ความคงที่สูงของจังหวะการเเผ่รังสีของดาวนิวตรอน และจุดที่ตั้งที่คงที่ของดาวนิวตรอนต่อจุดที่ตั้งของโลก ทำให้ดาวนิวตรอนมีลักษณะคล้ายกับดาวเทียมจีพีเอส

         และในการทดลองที่เรียกว่า SEXTANT ทีมนักวิทยาศาสตร์จะทำการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ดาวนิวตรอนในการนำทางระหว่างดวงดาวที่เเม่นยำ

         เจสัน มิทเชล ผู้จัดการโครงการทดลอง SEXTANT กล่าวว่า บ่อยครั้งที่เราจะได้ยิน ดาวเทียมเเละจีพีเอส ถูกเรียกว่า "ส่วนอวกาศ หรือ space segment" แต่สำหรับโครงการของเขา ส่วนอวกาศหมายถึงดาวนิวตรอน ซึ่งจะเป็นนาฬิกาอะตอมของโครงการ และสัญญาณของดาวนิวตรอนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใคร

          เขากล่าวว่าทีมงานสามารถศึกษาสัญญาณเหล่านี้ของดาวนิวตรอนและทำการสร้างสัญญาณขึ้นมาใหม่ และเเปรสัญญาณให้เป็นตัววัดเพื่อปรับการนำทาง

        สำหรับนักบินอวกาศในอนาคตที่จะเดินทางไปยังดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ การขาดการสื่อสารกับโลกเป็นสิ่งที่อันตรายมาก ดังนั้น การรู้จุดที่ตั้งของนักอวกาศขณะอยู่นอกโลกอย่างถูกต้องมีความสำคัญมาก

         โครงการศึกษาดาวนิวตรอนนี้พัฒนาโดยนาซ่าเเละได้รับความร่วมมือจากทีมนักวิทยาศาสตร์จาก Universities Space Research Association ที่ไม่หวังผลกำไร คาดว่าโครงการนี้จะใช้เวลานาน 18 เดือนก่อนจะเสร็จสิ้นและจะเปิดให้นักวิจัยทางดาราศาสตร์จากทั่วโลกได้ใช้ประโยชน์จากกล้องส่องดูดาวนิวตรอน NICER นี้

 

Voice of America 03.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร