Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

การบำบัด 'มะเร็งทรวงอก' เเบบใหม่ ช่วยให้ผู้ป่วยรอดชีวิตสูงขึ้น   

     บรรดาเเพทย์ชี้ว่ามีปัจจัยหลักสองอย่างที่ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งทรวงอกรอดชีวิต ปัจจัยดังกล่าวคือการตรวจพบมะเร็งเเต่เนิ่นๆ และการบำบัดแบบตรงเป้า
     ในปัจจุบัน เเพทย์ผ่าตัดต้องพึ่งการตรวจก้อนมะเร็งที่สามารถ    มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ก่อนที่จะนำตัวอย่างไปตรวจเพื่อยืนยันว่าเป็นมะเร็ง เเต่การพัฒนาอุปกรณ์ใหม่ๆ ที่อาจจะช่วยตรวจหาก้อนมะเร็งได้ตั้งเเต่ยังมีขนาดเล็กมากจนมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า จะเป็นประโยชน์ เพราะวิธีนี้จะช่วยลดความจำเป็นในการผ่าตัดก้อนมะเร็งหลายครั้ง
     ทีมนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยเวสเติร์นออสเตรเลีย กำลังพัฒนาอุปกรณ์เอกซเรย์เเบบมือถือที่สามารถตรวจหาชิ้นส่วนเล็กๆ ของก้อนมะเร็งจากตัวอย่างเนื้อเยื่อหรือจากผู้ป่วยได้อย่างชัดเจน
คริสโตเบิ้ล ซอนเดอร์ส ศัลยแพทย์หญิงมะเร็งทรวงอก กล่าวว่า อุปกรณ์นี้จะช่วยแพทย์ตรวจพบมะเร็งได้ตั้งเเต่ยังมีขนาดเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ซึ่งการตรวจเเบบได้ผลทันทีนี้ไม่เคยเป็นไปได้มาก่อน จึงถือว่าเป็นความก้าวหน้าในการตรวจหามะเร็งที่น่าตื่นเต้นมาก
     อุปกรณ์นี้ยังอยู่ระหว่างการพัฒนาในขั้นตอนของเครื่องต้นเเบบ แต่ทีมนักวิจัยในออสเตรเลียเปิดเผยว่า การทดลองในคนอาจจะเริ่มต้นได้ภายในสองปีข้างหน้า
ผู้เชี่ยวชาญชี้ว่าเมื่อค้นพบก้อนมะเร็งในทรวงอก ผู้ป่วยส่วนมากมักเข้ารับการฉายรังสี ข้อเสียของการบำบัดนี้อยู่ที่รังสีไปทำลายเนื้อเยื่อที่เเข็งเเรงในอวัยวะอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกับก้อนมะเร็ง รวมทั้งหัวใจหากบำบัดมะเร็งในทรวงอกข้างซ้าย
     แต่อุปกรณ์ฉายรังสีตัวใหม่ที่เรียกว่า Align RT ช่วยให้การฉายรังสีเป็นไปได้อย่างเเม่นยำและตรงเป้าหมาย เเม้ขณะที่ผู้ป่วยขยับตัวก็ตาม
     เครื่องฉายเหนือศรีษะฉายภาพเเสงสีเเดงมีลวดลายแบบต่างๆ ลงบนร่างกายผู้ป่วย ในขณะที่กล้องถ่ายภาพที่ติดบนเพดานจะสร้างภาพสามมิติของร่างกายผู้ป่วยและคอยปรับขนาดลำรังสี ขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าออกเเละขยับตัว
     ผู้ป่วยสามารถมองเห็นภาพสามมิติทางหน้าจอที่ปรากฏให้ดูเพื่อช่วยให้ควบคุมการหายใจเข้าออก เพื่อให้การขยับขึ้นลงของทรวงอกอยู่ในระยะที่ปลอดภัยของลำเเสงรังสีระหว่างการบำบัด
อาลิสัน ยัง ผู้รอดชีวิตจากมะเร็งทรวงอก กล่าวว่า คนไข้สามารถควบคุมการสูดลมหายใจเข้าออกให้อยู่ในระดับที่พอดีกับระยะที่กำหนด เพื่อช่วยให้ลำเเสงรังสีฉายไปตรงจุดที่พบก้อนมะเร็งอย่างตรงเป้าหมาย
เธอกล่าวว่า เทคโนโลยีที่นำมาใช้นี้ทำให้คนไข้มีบทบาทช่วยให้การบำบัดทำได้อย่างเเม่นยำและมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์ฉายรังสี Align RT นี้มีใช้งานเเล้วในโรงพยาบาลมากกว่า 800 เเห่งทั่วโลก และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Royal Academy of Engineering’s MacRobert อีกด้วย

 

Voice of America 14.08.17

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร