Library Subject Cloud
Air Pollution. Biochemistry. Chemistry, Analytic Quantitative. Chemistry, Analytic. Chemistry, Inorganic. Chemistry, Organic. Chemistry, Physical and theoretical. Chemistry. Children's literature. Chromatographic analysis. Food Analysis. Food Microbiology. Food Preservation. Food additives. Food industry and trade. Food. Nutrition. Physics. Plastics. Polymers and polymerization. Polymers. Rubber. Water Analysis. Water Purification. การบริหารงานบุคคล. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2470- พระราชกรณียกิจ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก. วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน. โสตทัศนวัสดุ.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
QR for Android App
Test Library System
QR for Android App
DSS Science eBook
Standard Collection
OECD Agriculture and Food
คู่มือการใช้งาน e-book ของ iGPublishing Platform
รายการ e-book ที่ให้บริการบน iGPublishing Platform
สำนักพิมพ์ Elsevier
e-book ของสำนักพิมพ์ iSmithers สาขาที่ควบคุมทางด้าน ยาง,กระจก,โพลีเมอร์
Britannica Academic Edition
Britannica Merriam Webster
แนะนำ ฐานข้อมูล
เว็บไซต์ด้านมาตรฐาน
เว็บไซต์เกี่ยวกับสิทธิบัตร
ฐานข้อมูล Electronic Journals อ่าน Fulltext ได้สำหรับบริการบุคลากรภายในกรมฯ
ฐานข้อมูล e-content (วารสารต่างประเทศ)
รายชื่อวารสารอภินันทนาการ
เว็บที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร/ระเบียบ Reach
ฐานข้อมูลแก้ไขปัญหาเกษตรกรรมขั้นพื้นฐาน
บริการสืบค้นข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์
ฐานข้อมูลประมวลสารสนเทศเฉพาะเรื่อง
ประวัตินักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ฐานข้อมูลวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเซรามิก,แก้ว ...
ข้อมูลเอกสารรายงานการวิจัย
ฐานข้อมูลส่งเสริมเผยแพร่สารสนเทศสู่ชุมชน

สถิติจาก truehit.net


ตรวจสอบและติดตามข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บริการ
แผนการฝึกอบรมปี 2562
แผนการอบรมหลักสูตรถ่าย
ทอดเทคโนโลยี ปี 2561
ประกาศอัตราค่าบริการใหม่และ
การชำระค่าบริการ
รายชื่อฐานข้อมูลทั้งหมด
แนะนำเอกสารใหม่ 
  ลิงค์เว็บเพจแนะนำ
    เอกสารใหม่
  ดาวน์โหลดบัญชีรายชื่อ
    เอกสารใหม่
  คู่มือการใช้งาน
เว็บไดเร็คทอรี่ (web directory)
ข่าวด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บศูนย์ประสานงานสารนิเทศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระดานถาม-ตอบ
เว็บไซต์ด้านวัสดุสัมผัสอาหาร
เว็บไซต์ด้านแก้ว
เว็บไซต์ด้านเซรามิก
เว็บไซต์คลังความรู้ OTOP
ห้องปฏิบัติการยางและผลิตภัณฑ์ยาง
 
สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
UTCC Central Library


นำโค้ดไปติดที่เว็บของท่านแล้ว
กรุณาแจ้งเราทาง E-mail ที่
Webmaster
 
 
 
 
 

‘โดรน’ ให้คุณหรือโทษแก่มวลมนุษยชาติกันแน่?   

     อากาศยานไร้คนขับ หรือ โดรน อาจเป็นของขวัญ หรือ ฝันร้าย ของผู้คนในยุคสมัยใหม่ได้พร้อมๆ กัน
     อากาศยานไร้คนขับ หรือ โดรน ที่ล้ำสมัยขึ้นเรื่อยๆ ได้สร้างประโยชน์ให้กับนักวิทยาศาสตร์ ตำรวจ และภาคธุรกิจ แต่ในทางกลับกันราคาของโดรนที่ถูกลงและหาซื้อได้ง่ายนั้น อาจเป็นช่องทางในการผลิตอาวุธสังหารแบบเคลื่อนที่เร็วได้ด้วยเช่นกัน
เรื่องนี้สร้างความกังวลให้กับวงการตำรวจ โดย Larry Satterwhite จาก Houston Police Department ในรัฐเท็กซัส บอกว่า เทคโนโลยีรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว และในฐานะตำรวจก็ต้องเล่นไล่จับกับเทคโนโลยีที่ใช้ในทางมิชอบในปัจจุบัน
เช่นเดียวกับที่ Richard Lusk นักวิทยาศาสตร์จาก Oak Ridge National Laboratory บอกว่า มีหลายเหตุการณ์ที่ใช้โดรนขนส่งยาเสพติดและอาวุธปืนไปให้กับนักโทษในเรือนจำสหรัฐฯ หรือในตะวันออกกลางได้ใช้โดรนทิ้งระเบิดเข้าทำร้ายพลเมืองเลยก็มี
คุณ Richard ย้ำว่า แนวทางรับมือการโจมตีจากโดรน สามารถทำได้ด้วยการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทำลายระบบควบคุมระบบระบุพิกัดบนโลก หรือ GPS ที่อยู่ภายในโดรน และใช้คลื่นวิทยุรบกวนระบบการสื่อสารระหว่างโดรนและผู้ควบคุม
อย่างไรก็ตาม ในด้านมืดก็มีด้านสว่าง เพราะการก้าวเข้ามาของเทคโนโลยีโดรน อาจเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยชีวิตผู้คนเอาไว้ได้เช่นกัน
อย่างอุตสาหกรรมเคมี ได้เลือกใช้อากาศยานไร้คนขับนี้เพื่อตรวจสอบโครงสร้างภายในและทำหน้าที่แทนมนุษย์ในงานที่เสี่ยงอันตราย ที่โรงกลั่นน้ำมัน Shell ใกล้กับเมือง Houston เริ่มใช้โดรนในงานเสี่ยงภัยแทนมนุษย์เมื่อปีก่อน
Gary Scheibe ตัวแทนจากโรงกลั่นน้ำมัน Shell บอกว่า ด้วยขนาดของโรงงานที่ใหญ่และสูงถึง 400 ฟุต การใช้โดรนช่วยบันทึกภาพโครงสร้างทั้งหมด และทำให้ทีมงานทราบสถานการณ์ได้สะดวกรวดเร็วกว่าการใช้เครื่องมืออื่นหรือพึ่งพามนุษย์
นอกจากโรงกลั่นน้ำมันแล้ว หน่วยงานบังคับใช้กฏหมายในสหรัฐฯหลายแห่ง ได้หันมาใช้เทคโนโลยีโดรนรูปแบบต่างๆ เช่น โดรนที่มีระบบตรวจจับอุณหภูมิเพื่อค้นหาเด็กที่หายตัวไป โดรนพร้อมระบบเซนเซอร์ตรวจจับวัตถุในความมืด หรือโดรนที่มีเครื่องตรวจจับก๊าซมีเทน และเครื่องเอ็กซเรย์ เพื่อใช้ในการสืบสวนสอบสวน ค้นหา กู้ภัย รวมทั้งเคลียร์พื้นที่ถนนหนทางที่จราจรติดขัดจากอุบัติเหตุหรือปัญหาจราจรได้เร็วขึ้นกว่าเดิม
หรือทางการทหารอาจมีการพัฒนาโดรนขนาดเท่าแมลงที่ใช้ตรวจสอบพื้นที่เข้าถึงได้ยาก

 

Voice of America 16.08.17

 

อ่านเนื้อหาฉบับเต็ม







   




   
   
   

 

 

This site is copyright @ 2005 สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
75/7 ถ.พระรามหก แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400
โทรศัพท์ : 0 2201 7252-6  โทรสาร : 0 2201 7251,65  e-mail : info@dss.go.th

Wednesday March 18, 2020 7:31 PM 8:49 PM
หน่วยงานนี้ทำข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการศึกษาค้นคว้าเท่านั้น มิใช่เพื่อการแสวงหาผลกำไร